สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร

จังหวัดสกลนคร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 7 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์แก้ไข

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสกลนครมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงวรนิติปรีชา (วรดี พรหมสาขา ณ สกลนคร)

เขตเลือกตั้งแก้ไข

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ และ กิ่งอำเภอส่องดาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน และอำเภอกุดบาก
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, กิ่งอำเภอส่องดาว และ กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน และอำเภอกุดบาก
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และ กิ่งอำเภอเต่างอย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอส่องดาว และ กิ่งอำเภอคำตากล้า
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน, กิ่งอำเภอเต่างอย และ กิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอส่องดาว และอำเภอคำตากล้า
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, กิ่งอำเภอเต่างอย และ กิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า และ กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน
6 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, กิ่งอำเภอเต่างอย และ กิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และ กิ่งอำเภอเจริญศิลป์
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, กิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ และ กิ่งอำเภอโพนนาแก้ว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และ กิ่งอำเภอเจริญศิลป์
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, อำเภอโคกศรีสุพรรณ และ กิ่งอำเภอโพนนาแก้ว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และ กิ่งอำเภอเจริญศิลป์
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, กิ่งอำเภอโพนนาแก้ว และ กิ่งอำเภอภูพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพังโคน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอคำตากล้า และอำเภอนิคมน้ำอูน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอส่องดาว และอำเภอเจริญศิลป์
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร (ยกเว้นตำบลโคกก่อง ตำบลม่วงลาย ตำบลดงชน และตำบลเหล่าปอแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตำบลโคกก่อง ตำบลม่วงลาย ตำบลดงชน และตำบลเหล่าปอแดง), อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอโพนนาแก้ว, อำเภอโคกศรีสุพรรณ และอำเภอเต่างอย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพรรณานิคม (ยกเว้นตำบลช้างมิ่ง), อำเภอกุดบาก, อำเภอภูพาน และอำเภออากาศอำนวย (เฉพาะตำบลโพนแพงและตำบลบะหว้า)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพังโคน, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภอส่องดาว, อำเภอนิคมน้ำอูน และอำเภอพรรณานิคม (เฉพาะตำบลช้างมิ่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสว่างแดนดิน และอำเภอเจริญศิลป์ (เฉพาะตำบลโคกศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอวานรนิวาสและอำเภอเจริญศิลป์ (ยกเว้นตำบลโคกศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านม่วง, อำเภอคำตากล้า และอำเภออากาศอำนวย (ยกเว้นตำบลโพนแพงและตำบลบะหว้า)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, อำเภอโพนนาแก้ว และอำเภอภูพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพังโคน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย และอำเภอนิคมน้ำอูน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอคำตากล้า, อำเภอส่องดาว และอำเภอเจริญศิลป์
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร (ยกเว้นตำบลเหล่าปอแดง ตำบลโคกก่อง ตำบลดงชน ตำบลม่วงลาย และตำบลโนนหอม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตำบลเหล่าปอแดง ตำบลโคกก่อง ตำบลดงชน ตำบลม่วงลาย และตำบลโนนหอม), อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอโพนนาแก้ว, อำเภอโคกศรีสุพรรณ และอำเภอเต่างอย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพรรณานิคม, อำเภอภูพาน, อำเภอกุดบาก และอำเภออากาศอำนวย (เฉพาะตำบลบะหว้าและตำบลโพนแพง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพังโคน, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภอส่องดาว และอำเภอนิคมน้ำอูน
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสว่างแดนดิน และอำเภอเจริญศิลป์ (เฉพาะตำบลโคกศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอวานรนิวาส และอำเภอเจริญศิลป์ (ยกเว้นตำบลโคกศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านม่วง, อำเภอคำตากล้า และอำเภออากาศอำนวย (ยกเว้นตำบลบะหว้าและตำบลโพนแพง)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอโพนนาแก้ว, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, อำเภอเต่างอย และอำเภอภูพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกุดบาก, อำเภอนิคมน้ำอูน, อำเภอพังโคน, อำเภอวาริชภูมิ และอำเภอส่องดาว
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสว่างแดนดินและอำเภอเจริญศิลป์
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอวานรนิวาสและอำเภอบ้านม่วง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอคำตากล้า, อำเภออากาศอำนวย และอำเภอพรรณานิคม
  6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสกลนคร (ยกเว้นตำบลโนนหอม ตำบลดงชน ตำบลม่วงลาย ตำบลโคกก่อง และตำบลหนองลาด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอโพนนาแก้ว, อำเภอโคกศรีสุพรรณ, อำเภอเต่างอย และอำเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตำบลโนนหอม ตำบลดงชน ตำบลม่วงลาย และตำบลโคกก่อง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออากาศอำนวย, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตำบลหนองลาด) และอำเภอวานรนิวาส (เฉพาะตำบลนาซอ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอภูพาน, อำเภอกุดบาก, อำเภอนิคมน้ำอูน, อำเภอวาริชภูมิ และอำเภอส่องดาว (ยกเว้นตำบลท่าศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสว่างแดนดินและอำเภอส่องดาว (เฉพาะตำบลท่าศิลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพังโคน, อำเภอเจริญศิลป์ และอำเภอวานรนิวาส (เฉพาะตำบลธาตุ ตำบลคอนสวรรค์ ตำบลศรีวิชัย ตำบลเดื่อศรีคันไชย ตำบลหนองสนม และตำบลขัวก่าย)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านม่วง, อำเภอคำตากล้า และอำเภอวานรนิวาส (เฉพาะตำบลนาคำ ตำบลวานรนิวาส ตำบลหนองแวงใต้ ตำบลหนองแวง ตำบลกุดเรือคำ ตำบลคูสะคาม และตำบลอินทร์แปลง)
7 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตแก้ไข

ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481แก้ไข

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 หลวงวรนิติปรีชา (วรดี พรหมสาขา ณ สกลนคร)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายเตียง ศิริขันธ์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481

ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489แก้ไข

เขต ชุดที่ 4 เดือน มกราคม พ.ศ. 2489 ชุดที่ 4 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายเตียง ศิริขันธ์ นายประสิทธิ์ บุญญารมย์
2 นายทองปาน วงศ์สง่า

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492แก้ไข

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายเจียม ศิริขันธ์
พ.ศ. 2492 นายเตียง ศิริขันธ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495แก้ไข

ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 หลวงปริวรรตวรวิจิตร
2 นายเตียง ศิริขันธ์

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512แก้ไข

      พรรคเสรีประชาธิปไตย
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคเศรษฐกร
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2500 ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
นายดาบชัย อัคราช ร้อยตรี ประทีป ศิริขันธ์ นายโบแดง จันตะเสน
นายวิกรานต์ โสตถิสวัสดิ์ นายครอง จันดาวงศ์ นายประชา ตงศิริ
นายทองปาน วงศ์สง่า นายทองปาน วงศ์สง่า นายสถาปน์ ศิริขันธ์

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519แก้ไข

      พรรคกิจสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 ว่าที่ร้อยตรี สะเทื้อน ตุละวรรณ นายบัวใส ศรีสถาน
นายสถาปน์ ศิริขันธ์ พันโท บุญจง รัศมี
2 เรือโท อุทิศ นวลมณี นายประชา ตงศิริ
นายดาบชัย อัคราช

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526แก้ไข

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นางอนงค์ ตงศิริ
นายดาบชัย อัคราช นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย
นายเสน่ห์ โสรินทร์ นายสถาปน์ ศิริขันธ์
2 พันตรี สีห์พนม วิชิตวรสาร นายองุ่น สุทธิวงศ์
นายดิเรก อัคราช นายจิรมิตร เจียมเจริญอุดมดี

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535แก้ไข

      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)พรรคเอกภาพ
      พรรคกิจประชาคมพรรคเอกภาพ
      พรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 เดือน มีนาคม 2535 ชุดที่ 18 เดือน กันยายน 2535
1 นายประทีป นามประกาย นายเสน่ห์ โสรินทร์ นายเฉลิมชัย อุฬารกุล
นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย นายชาญชัย พรหมสาขา ณ สกลนคร นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
นางอนงค์ ตงศิริ นายเอกพร รักความสุข นายเอกพร รักความสุข
2 นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
นายจิรมิตร เจียมเจริญอุดมดี พันตรี สีห์พนม วิชิตวรสาร นายสาคร พรหมภักดี พันตรี สีห์พนม วิชิตวรสาร
นายองุ่น สุทธิวงศ์ นายสุวิชัย เจียมเจริญอุดมดี นายองุ่น สุทธิวงศ์ นายจิรมิตร อุดมธรรมภักดี

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539แก้ไข

      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายพนม ลีลาบุตร นายเอกพร รักความสุข
นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย นายเจริญ การุญ
(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางสาวมาลีรัตน์ แก้วก่า นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย
2 นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ นายสาคร พรหมภักดี
นายวัชรินทร์ ศรีถาพร
3 นายอวยชัย สุขรัตน์
นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ นายวิรัตน์ ตยางคนนท์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548แก้ไข

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
2 นายเฉลิมชัย อุฬารกุล นายเฉลิมชัย อุฬารกุล
3 นายนริศร ทองธิราช นายเฉลิมชาติ การุญ
4 นายสาคร พรหมภักดี นายสาคร พรหมภักดี
5 นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล
6 นายเสรี สาระนันท์
7 นายเกษม อุประ นายเกษม อุประ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550แก้ไข

      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → ไม่สังกัดพรรคการเมือง
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายเฉลิมชาติ การุญ (   / เลือกตั้งใหม่)
นายนิยม เวชกามา
นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย
2 นายเสรี สาระนันท์
นายจุมพฏ บุญใหญ่*
3 นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล   นางอนุรักษ์ บุญศล (แทนนายพงษ์ศักดิ์)
นายเกษม อุประ
หมายเหตุ :
  1. นาย จุมพฏ บุญใหญ่ ภายหลังมีสถานะ "ไม่สังกัดพรรค" เนื่องจากเข้าร่วมงานกับพรรคภูมิใจไทยจึงถูกพรรคเพื่อไทยขับออกจากพรรค[2]

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562แก้ไข

      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
2 นายนิยม เวชกามา
3 นายนริศร ทองธิราช นายพัฒนา สัพโส
4 นายพัฒนา สัพโส นางอนุรักษ์ บุญศล
5 นางอนุรักษ์ บุญศล นางสกุณา สาระนันท์
6 นายเสรี สาระนันท์ นายเกษม อุประ
7 นายเกษม อุประ ยุบเขต 7

รูปภาพแก้ไข

อ้างอิงแก้ไข

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. "ศาลรธน.วินิจฉัย 'จุมพฏ-ปรพล' พ้นส.ส.เพื่อไทย". www.thairath.co.th. 2011-04-27.

แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข