สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง

จังหวัดลำปาง มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์ แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดลำปางมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ เจ้าสร้อย ณ ลำปาง[2]

เขตเลือกตั้ง แก้

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง, อำเภอแจ้ห่ม และอำเภองาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหางสัตว์ (ปัจจุบันคืออำเภอห้างฉัตร), อำเภอเกาะคา, อำเภอแม่ทะ และอำเภอเถิน
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ และอำเภองาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ทะ, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก และกิ่งอำเภอเสริมงาม
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ และอำเภองาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ทะ, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก และอำเภอเสริมงาม
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ และอำเภองาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ทะ, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และกิ่งอำเภอแม่เมาะ
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ, อำเภองาว และกิ่งอำเภอเมืองปาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ทะ, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และกิ่งอำเภอแม่เมาะ
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ, อำเภองาว และกิ่งอำเภอเมืองปาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ทะ, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และอำเภอแม่เมาะ
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ, อำเภองาว และอำเภอเมืองปาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ทะ, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และอำเภอแม่เมาะ
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง (เฉพาะตำบลปงแสนทอง ตำบลชมพู ตำบลกล้วยแพะ ตำบลพระบาท ตำบลพิชัย ตำบลบ้านเสด็จ ตำบลเวียงเหนือ ตำบลสบตุ๋ย ตำบลสวนดอก และตำบลหัวเวียง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองลำปาง (เฉพาะตำบลบ้านค่า ตำบลบ้านเอื้อม ตำบลบ้านเป้า ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลต้นธงชัย ตำบลบุญนาคพัฒนา ตำบลทุ่งฝาย และตำบลบ่อแฮ้ว), อำเภอห้างฉัตร และอำเภอเมืองปาน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองลำปาง (เฉพาะตำบลบ้านแลง), อำเภองาว, อำเภอวังเหนือ และอำเภอแจ้ห่ม
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเกาะคา, อำเภอแม่เมาะ และอำเภอแม่ทะ (ยกเว้นตำบลสันดอนแก้ว ตำบลบ้านบอม และตำบลบ้านกิ่ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเถิน, อำเภอเสริมงาม, อำเภอสบปราบ, อำเภอแม่พริก และอำเภอแม่ทะ (เฉพาะตำบลสันดอนแก้ว ตำบลบ้านบอม และตำบลบ้านกิ่ว)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำปาง, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ, อำเภองาว และอำเภอเมืองปาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ทะ, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และอำเภอแม่เมาะ
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอห้างฉัตรและอำเภอเมืองลำปาง [ยกเว้นตำบลบ้านแลง ตำบลบ้านเสด็จ ตำบลกล้วยแพะ ตำบลปงแสนทอง ตำบลพระบาท (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) ตำบลชมพู (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) และตำบลพิชัย (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองปาน, อำเภอวังเหนือ, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภองาว และอำเภอเมืองลำปาง (เฉพาะตำบลบ้านแลง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่เมาะ, อำเภอแม่ทะ และอำเภอเมืองลำปาง [เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ ตำบลกล้วยแพะ ตำบลปงแสนทอง ตำบลพระบาท (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) ตำบลชมพู (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) และตำบลพิชัย (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเกาะคา, อำเภอเสริมงาม, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน และอำเภอแม่พริก
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอห้างฉัตรและอำเภอเมืองลำปาง [ยกเว้นตำบลบ้านเสด็จ ตำบลกล้วยแพะ ตำบลปงแสนทอง ตำบลพระบาท (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) ตำบลชมพู (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) และตำบลพิชัย (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองปาน, อำเภอวังเหนือ, อำเภอแจ้ห่ม และอำเภองาว
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่เมาะ, อำเภอแม่ทะ และอำเภอเมืองลำปาง [เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ ตำบลกล้วยแพะ ตำบลปงแสนทอง ตำบลพระบาท (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) ตำบลชมพู (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) และตำบลพิชัย (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเกาะคา, อำเภอเสริมงาม, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน และอำเภอแม่พริก
  4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอห้างฉัตรและอำเภอเมืองลำปาง [ยกเว้นตำบลบ้านแลง ตำบลบ้านเสด็จ ตำบลกล้วยแพะ ตำบลปงแสนทอง ตำบลพระบาท (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) ตำบลชมพู (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) และตำบลพิชัย (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองปาน, อำเภอวังเหนือ, อำเภองาว, อำเภอแจ้ห่ม และอำเภอเมืองลำปาง (เฉพาะตำบลบ้านแลงและตำบลบ้านเสด็จ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่เมาะ, อำเภอแม่ทะ และอำเภอเมืองลำปาง [เฉพาะตำบลกล้วยแพะ ตำบลปงแสนทอง ตำบลพระบาท (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) ตำบลชมพู (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง) และตำบลพิชัย (นอกเขตเทศบาลนครลำปาง)]
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเกาะคา, อำเภอเสริมงาม, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน และอำเภอแม่พริก
  4 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต แก้

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476 แก้

ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3]
เจ้าสร้อย ณ ลำปาง

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหชีพ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายแถม คมสัน พลตรี พระยาอมรวิสัยสรเดช (พิณ โรหิตะพินทุ) นายอินทูร วรกุล นายประเวศ บริราช
2 เจ้าสร้อย ณ ลำปาง เจ้าสรอย ณ ลำปาง (เสียชีวิต)
นายประยูร ขันธรักษ์ (แทนเจ้าสรอย ณ ลำปาง)
นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2495 แก้

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 ขุนสีมะสิงห์สวัสดิ์
นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์
นายวิชัย โลจายะ

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ นายบุญเรือง ชุ่มอินทรจักร นายอินทูร วรกุล
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512 แก้

      พรรคแนวประชาธิปไตย
      พรรคประชาธิปัตย์
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน
2 นายบุญเรือง ชุ่มอินทรจักร
3 นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์
4 นายเสริม จีนาสวัสดิ์

ชุดที่ 11–14; พ.ศ. 2518–2526 แก้

      พรรคแรงงาน
      พรรคกิจสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคแนวร่วมประชาธิปไตย
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายสอาด ปิยวรรณ นายดุสิต พานิชพัฒน์ นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ นายพินิจ จันทรสุรินทร์
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน นายบุญเรือง ชุ่มอินทรจักร
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายสอาด ปิยวรรณ นายประพันธ์ พยัคฆบุตร นายพินิจ จันทรสุรินทร์
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน นายพินิจ จันทรสุรินทร์

ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539 แก้

      พรรครวมไทย (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคชาติไทย
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายบุญหลง ถาคำฟู นายสอาด ปิยวรรณ นายอำพล ศิริวัฒนกุล นายพินิจ จันทรสุรินทร์ นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร นายพินิจ จันทรสุรินทร์ นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายบุญหลง ถาคำฟู นายบุญชู ตรีทอง นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร นายพินิจ จันทรสุรินทร์ นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายวาสิต พยัคฆบุตร นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร นายพินิจ จันทรสุรินทร์ นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายวาสิต พยัคฆบุตร นายบุญชู ตรีทอง นายพินิจ จันทรสุรินทร์ นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548 แก้

      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร
2 นายจินดา วงศ์สวัสดิ์ นายกิตติกร โล่ห์สุนทร
3 นายวาสิต พยัคฆบุตร
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายวาสิต พยัคฆบุตร
4 นายพินิจ จันทรสุรินทร์
5 นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550 แก้

      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายกิตติกร โล่ห์สุนทร
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายสมโภช สายเทพ
(แทนนายกิตติกร)
นายธนาธร โล่ห์สุนทร (   / เลือกตั้งใหม่)
นายวาสิต พยัคฆบุตร
2 นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์
นายจรัสฤทธิ์ จันทรสุรินทร์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566 แก้

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชารัฐ พรรคเศรษฐกิจไทย
      พรรคเสรีรวมไทย
      พรรคก้าวไกล
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายสมโภช สายเทพ นายกิตติกร โล่ห์สุนทร นางทิพา ปวีณาเสถียร
2 นายวาสิต พยัคฆบุตร นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร นายธนาธร โล่ห์สุนทร
3 นายจรัสฤทธิ์ จันทรสุรินทร์ นายชลธานี เชื้อน้อย
4 นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์
(เสียชีวิต)
นางสาวรภัสสรณ์ นิยะโมสถ
นายวัฒนา สิทธิวัง
(แทนนายอิทธิรัตน์/   /พ้นจากตำแหน่งตามคำพิพากษาศาลฎีกา)
นายเดชทวี ศรีวิชัย
(แทนนายวัฒนา/ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)

รูปภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1

แหล่งข้อมูลอื่น แก้