ทางรถไฟสายเหนือ

ทางรถไฟสายเหนือ หรือ ทางรถไฟสายชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่[1] เป็นเส้นทางรถไฟสายหนึ่งในประเทศไทย แยกออกจากทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี ผ่านหลายจังหวัดในภาคกลางและภาคเหนือ และสิ้นสุดปลายทางที่สถานีรถไฟเชียงใหม่ รวมระยะทาง 751 กิโลเมตร (นับตั้งแต่สถานีรถไฟกรุงเทพ) และที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา จังหวัดอุตรดิตถ์ จะมีทางแยกไปยังสถานีรถไฟสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย รวมระยะทาง 457 กิโลเมตร (นับตั้งแต่สถานีรถไฟกรุงเทพ)

ทางรถไฟสายเหนือ
State Railway of Thailand Logo 2019.svg
จากซ้ายไปขวา บนลงล่าง:
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออื่นทางรถไฟสายชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่
สถานะเปิดให้บริการ /
โครงการส่วนต่อขยาย
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ปลายทาง
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟระหว่างเมือง
ระบบรถไฟทางไกล
ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
และบริษัทเอกชนในส่วน
ของสถานีขนถ่ายสินค้า
ศูนย์ซ่อมบำรุงโรงรถจักรดีเซลอุตรดิตถ์
โรงรถจักรดีเซลลำปาง
โรงรถจักรดีเซลปากน้ำโพ
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง751.42 กม. (466.91 ไมล์)
จำนวนทางวิ่ง1
รางกว้างราง 1 เมตร ทางเดี่ยว
(ระหว่างโครงการก่อสร้างทางคู่)
ความเร็วสูงสุด 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
แผนที่เส้นทาง

0+000 กม. กรุงเทพ (หัวลำโพง) MRT (Bangkok) logo.svg
รถไฟสายตะวันออก  ชุมทางฉะเชิงเทรา 
2+170 กม. ยมราช
3+290 กม. จิตรลดา
โรงพยาบาลรามาธิบดี
4+800 กม. สามเสน
6+730 กม. ประดิพัทธ์
โครงการ: รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง
7+470 กม. ชุมทางบางซื่อ MRT (Bangkok) logo.svg
รถไฟสายใต้  ชุมทางตลิ่งชัน 
สายสีแดงอ่อน  ตลิ่งชัน 
11+010 กม. จตุรจักร
13+000 กม. บางเขน
14+810 กม.ทุ่งสองห้อง
17+570 กม.หลักสี่
19+470 กม. การเคหะ
22+210 กม. ดอนเมือง
หลักหก
29+750 กม. รังสิต
33+840 กม. คลองหนึ่ง
37+470 กม. เชียงราก
40+190 กม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
44+120 กม. นวนคร
46+010 กม.เชียงรากน้อย
51+880 กม.คลองพุทรา
58+000 กม.บางปะอิน
62+750 กม. บ้านโพ
71+080 กม.อยุธยา
74+690 กม.บ้านม้า
78+980 กม. มาบพระจันทร์
82+310 กม. บ้านดอนกลาง
85+440 กม. พระแก้ว
89+950 กม. ชุมทางบ้านภาชี
รถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ  ชุมทางแก่งคอย 
93+850 กม. ดอนหญ้านาง
96+440 กม. หนองวิวัฒน์
99+160 กม. บ้านปลักแรด
102+730 กม. ท่าเรือ
108+780 กม. บ้านหมอ
116+560 กม. หนองโดน
121+20 กม. บ้านกลับ
บ้านกลับ – โคกกระเทียม
บ้านกลับ – โคกกระเทียม
ลพบุรี 1
ลพบุรี 2
127+440 กม. บ้านป่าหวาย
132+810 กม. ลพบุรี
137+510 กม. ท่าแค
144+230 กม. โคกกระเทียม
150+080 กม. หนองเต่า
154+930 กม. หนองทรายขาว
161+220 กม. บ้านหมี่
165+940 กม. ห้วยแก้ว
170+330 กม. ไผ่ใหญ่
172.90 กม. โรงเรียนจันเสน
173+680 กม. จันเสน
176+630 กม. บ้านกกกว้าว
180+200กม.ช่องแค
187+137 กม.ทะเลหว้า
188+650 กม. โพนทอง
193.+020 กม. บ้านตาลี
198+800 กม. ดงมะกุ
204+060 กม. หัวหวาย
211+440 กม. หนองโพ
217+220 กม. หัวงิ้ว
224+810 กม. เนินมะกอก
235+490 กม. เขาทอง
รถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ  หนองคาย 
รถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ  นครพนม 
กม. บ้านไผ่
220+300 ​กม. ชัยภูมิ
211+100 กม. บ้านเขว้า
181+200 กม. ชุมทางกุดน้ำใส
180+825 กม. คลองสระแก้ว
113+300 กม. บ้านจัดสรร
105+900 กม. บ้านวังไผ่
98+575 กม. บรรจุและแยกสินค้ากล่อง บ้านพุเตย
98+075 กม. บ้านพุเตย
55+500 กม. ไพศาลี
35+000 กม. บรรจุและแยกสินค้ากล่อง ท่าตะโก
34+500 กม. ท่าตะโก
ไป บ้านไผ่
245+780 กม. นครสวรรค์
250+560 กม. ปากน้ำโพ
ไป ตาก
0+750 กม. แม่น้ำน่าน
3+600 กม. บึงเสนาท
10+360 กม. บ้านมะเกลือ
15+750 กม. มหาโพธิ
23+200 กม. เก้าเลี้ยว
30+175 กม. บางตาหงาย
38+065 กม.เจริญผล
49+250 กม ตาขีด
55+800 กม ป่าพุทรา
64+000 กม ยางสูง
69+525 กม วังแขม
74+215 กม วังยาง
78+700 กม ท่ามะเขือ
87+750 กม วังบัว
94+950 กม คณฑี
104+350 กม เทพนคร
113+350 กม กำแพงเพชร
120+632 กม หนองปลิง
134+650 กม ลานดอกไม้
147+350 กม โกสัมพี
157+050 กม วังเจ้า
168+075 กม วังหิน
172+856 กม แม่น้ำปิง
175+150 กม. หนองบัวใต้
181+143 กม. ตาก
196+900 กม. อุโมงค์ดอยรวก (15,500 ม.)
214+575 กม. ด่านแม่ละเมา
219+350 กม. อุโมงค์แม่ละเมา แห่งที่ 1 (1,420 ม.)
221+220 กม. อุโมงค์แม่ละเมา แห่งที่ 2 (756 ม.)
221+220 กม. ดอยพะวอ (12,000 ม.)
235+955 กม. แม่ปะ
245+305 กม.แม่สอด
250+100 กม.ด่านแม่สอด
257+150 กม. บึงบอระเพ็ด
263+580 กม. ทับกฤช
270+870 กม. คลองปลากด
280+290 กม. ชุมแสง
290+240 กม. วังกร่าง
297+030 กม. บางมูลนาก
303+500 กม. หอไกร
309+870 กม. ดงตะขบ
319+000 กม. ตะพานหิน
324+910 กม. ห้วยเกตุ
332+600 กม. หัวดง
339+360 กม. วังกรด
346+790 กม. พิจิตร
354+260 กม. ท่าฬ่อ
362+220 กม. บางกระทุ่ม
366+210 กม. แม่เทียบ
375+310 กม. บ้านใหม่
381+870 กม. บึงพระ
389+280 กม. พิษณุโลก
393+750 กม. บ้านเต็งหนาม
400+000 กม.บ้านตูม
405+310 กม. แควน้อย
414+500 กม. พรหมพิราม
423+200 กม.หนองตม
432+750 กม.บ้านบุ่ง
437+410 กม. บ้านโคน
447+550 กม. พิชัย
453+980 กม. ไร่อ้อย
458+310 กม. ชุมทางบ้านดารา
470+270 กม. คลองมะพลับ
487+140 กม. สวรรคโลก
461+800 กม. ท่าสัก
469+860 กม. ตรอน
476+820 กม. วังกะพี้
485+170 กม. อุตรดิตถ์
487+520 กม. ศิลาอาสน์
489+350 กม. ท่าเสา
497+560 กม. บ้านด่าน
509+360 กม. ปางต้นผึ้ง
513+720 กม. อุโมงค์ปางตูบขอบ (120.09 ม.)
516+410 กม. อุโมงค์เขาพลึง (362.44 ม.)
517+020 กม. เขาพลึง
521+480 กม. ห้วยไร่
525+300 กม. ไร่เกล็ดดาว
528+220 กม. แม่พวก
855+450 กม. บรรจุและแยกสินค้ากล่อง เชียงของ
853+350 กม. เชียงของ
839+200 กม. ศรีดอนชัย
806+150 กม. บ้านเกี๋ยง
816+600 กม. อุโมงค์ดอยหลวง (3600.00 ม.)
เชียงแสน
7+500 กม โชคชัย
ไป เชียงแสน
807+400กม. ชุมทางบ้านป่าซาง
796+425 กม. เวียงเชียงรุ้ง
785+500 กม. ทุ่งก่อ
771+800 กม. เชียงราย
756+000 กม. สันป่าเหียง
743+025 กม. โป่งเกลือ
732+715 กม. ป่าแงะ
724+500 กม. ป่าแดด
709+900 กม. บ้านใหม่
689+800 กม. บ้านร้อง
686+800 กม. ดงเจน
683+600 กม. พะเยา
677+600 กม บ้านโทกหวาก
670+700 กม. มหาวิทยาลัยพะเยา
663+400 กม. อุโมงค์แม่กา (2825.00 ม.)
642+300 กม. ปงเตา
636+975 กม. งาว
617+925 กม. แม่ตีบ
609+050 กม. อุโมงค์อ.สอง (6375.00 ม.)
606+200 กม. อุโมงค์อ.สอง (1125.00 ม.)
590+900 กม. สอง
584+200 กม. หนองเสี้ยว
560+600 กม. แพร่
547+750 กม. สูงเม่น
ไป เชียงของ
533+940 กม. เด่นชัย
538+430 กม. ปากปาน
546+940 กม. แก่งหลวง
554+420 กม. ห้วยแม่ต้า
563+860 กม. บ้านปิน
574+040 กม. อุโมงค์ห้วยแม่ลาน (130.20 ม.)
578+460 กม. ผาคัน
581+220 กม. ผาคอ
591+070 กม. ปางป๋วย
600+330 กม. แม่จาง
609+160 กม. แม่เมาะ
614+870 กม. ห้วยรากไม้
622+220 กม. ศาลาผาลาด
628+450 กม. แม่ทะ​
637+410 กม. หนองวัวเฒ่า
642+290 กม. นครลำปาง
654+850 กม. ห้างฉัตร
660+980 กม. ปางม่วง
665+090 กม. ห้วยเรียน
671+800 กม. แม่ตานน้อย
681+570 กม. อุโมงค์ขุนตาน (1352.10 ม.)
683+140 กม. ขุนตาน
691+890 กม. ทาชมภู
700+680 กม. ศาลาแม่ทา
713+010 กม. หนองหล่ม
729+210 กม. ลำพูน
734+640 กม. ป่าเส้า
742+780 กม. สารภี
751+420 กม. เชียงใหม่

ประวัติทางรถไฟสายเหนือแก้ไข

ลำดับ ช่วงสถานี ระยะทาง (กิโลมตร) เริ่มเดินรถ[2]
1 ชุมทางบ้านภาชีลพบุรี 43 1 เมษายน พ.ศ. 2444
2 ลพบุรี–ปากน้ำโพ 117 31 ตุลาคม พ.ศ. 2448[3]
3 ปากน้ำโพ–พิษณุโลก 139 24 มกราคม พ.ศ. 2450
4 พิษณุโลก–ชุมทางบ้านดารา 69 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451
5 ชุมทางบ้านดารา–ปางต้นผึ้ง 51 15 สิงหาคม พ.ศ. 2452
6 ปางต้นผึ้ง–แม่พวก 19 1 มิถุนายน พ.ศ. 2454
7 แม่พวก–ปากปาน 10 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455
8 ปากปาน–ห้วยแม่ต้า 13 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2456
9 ห้วยแม่ต้า–บ้านปิน 13 15 มิถุนายน พ.ศ. 2457
10 บ้านปิน–ผาคอ 17 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2458
11 ผาคอ–แม่จาง 19 15 ธันวาคม พ.ศ. 2458
12 แม่จาง–นครลำปาง 42 1 เมษายน พ.ศ. 2459
13 นครลำปาง–ปางหัวพง 33 20 ธันวาคม พ.ศ. 2459
14 ปางหัวพง–ปางยาง 4 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2461
15 ปางยางอุโมงค์ขุนตาน–เชียงใหม่ 72 1 มกราคม พ.ศ. 2464
ค่าก่อสร้างทั้งหมด 46,817,492 บาท

รถไฟทางคู่แก้ไข

เนื่องจากมีขบวนรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือจำนวนมาก ทำให้รถไฟหลายขบวนต้องหลีกกัน ก่อให้เกิดความล่าช้า กรมรถไฟหลวงจึงสร้างทางรถไฟใหม่ข้าง ๆ ทางเดิม และเปิดเดินรถไฟทางคู่ได้เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485

พื้นที่ที่เส้นทางผ่านแก้ไข

เขต / อำเภอ จังหวัด
กรุงเทพ-เชียงใหม่
ปทุมวัน / ดุสิต / ราชเทวี / พญาไท / จตุจักร / หลักสี่ / ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร
ธัญบุรี / คลองหลวง ปทุมธานี
บางปะอิน / พระนครศรีอยุธยา / อุทัย / ภาชี / ท่าเรือ พระนครศรีอยุธยา
บ้านหมอ / หนองโดน สระบุรี
เมืองลพบุรี / บ้านหมี่ ลพบุรี
ตาคลี / พยุหะคีรี / เมืองนครสวรรค์ / ชุมแสง นครสวรรค์
บางมูลนาก / ตะพานหิน / เมืองพิจิตร พิจิตร
บางกระทุ่ม / เมืองพิษณุโลก / พรหมพิราม พิษณุโลก
พิชัย / ตรอน / เมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
เด่นชัย / ลอง แพร่
แม่เมาะ / แม่ทะ / เมืองลำปาง / ห้างฉัตร ลำปาง
แม่ทา / เมืองลำพูน ลำพูน
สารภี / เมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่
ชุมทางบ้านดารา - สวรรคโลก
ศรีนคร / สวรรคโลก สุโขทัย
ชุมทางเด่นชัย - เชียงของ
เด่นชัย / สูงเม่น / เมืองแพร่ / สอง แพร่
งาว ลำปาง
เมืองพะเยา / ภูกามยาว พะเยา
ป่าแดด / เมืองเชียงราย / เวียงชัย / เวียงเชียงรุ้ง / เชียงของ เชียงราย
ชุมทางบ้านป่าซาง - เชียงแสน
เวียงเชียงรุ้ง / ดอยหลวง / เชียงแสน เชียงราย

สถานที่สำคัญแก้ไข

สถานีรถไฟแก้ไข

สะพานแก้ไข

อ้างอิง: [4]

อุโมงค์แก้ไข

ชื่ออุโมงค์[5] กิโลเมตรที่ ความยาว (เมตร) รูปภาพ
อุโมงค์ปางตูบขอบ 513 (ปางต้นผึ้งเขาพลึง) 120.09  
อุโมงค์เขาพลึง 516 (ปางต้นผึ้ง–เขาพลึง) 362.44  
อุโมงค์ห้วยแม่ลาน 574 (บ้านปินผาคัน) 130.20  
อุโมงค์ขุนตาน 681–682 (แม่ตานน้อยขุนตาน) 1,362.10  

โครงการในอนาคตแก้ไข

ในอนาคต จะมีการพัฒนาทางรถไฟจากทางเดี่ยวเป็นแบบทางคู่ ซึ่งจะก่อสร้างเป็นช่วง ๆ ดังนี้

  • บ้านกลับ-ท่าวุ้ง-ชุมทางโคกกระเทียม เป็นทางรถไฟเส้นทางใหม่แบบยกระดับ เพื่อเลี่ยงพระปรางค์สามยอด) (อยู่ระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าจะแล้วเสร็จ พ.ศ. 2565)[6]
  • ท่าแค-ปากน้ำโพ (อยู่ระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าจะแล้วเสร็จ พ.ศ. 2566)[6]
  • ปากน้ำโพ-ชุมทางเด่นชัย (ผ่าน EIA เมื่อ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2565) [7][8]
  • ชุมทางเด่นชัย-เชียงใหม่ (โครงการ)

นอกจากนี้ยังมีโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่สายใหม่ ได้แก่

อ้างอิงแก้ไข

  1. สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง. "ทางรถไฟที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน". สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. ตำนานแห่งรถไฟไทย — รถไฟไทยดอตคอม
  3. ประวัติ สรพ. ปากน้ำโพ — รถไฟไทยดอตคอม
  4. บันทึกข้อมูลเรื่องสะพาน — รถไฟไทยดอตคอม
  5. อุโมงค์รถไฟในประเทศไทย — รถไฟไทยดอตคอม
  6. 6.0 6.1 รฟท.เซ็นสัญญาก่อสร้างรถไฟทางคู่ระยะเร่งด่วน 5 เส้นทาง 6.9 หมื่นล.
  7. "สผ.ไฟเขียว EIA รถไฟทางคู่ "ปากน้ำโพ-เด่นชัย" วงเงินกว่า 5.9 หมื่นล้านบาท เชื่อมโครงข่ายสายเหนือ". mgronline.com. 2022-05-11.
  8. pum (2022-05-11). "ประวิตร ไฟเขียว EIA รถไฟทางคู่ปากน้ำโพ-เด่นชัย 6.28 หมื่นล้าน". ประชาชาติธุรกิจ.

แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข