รายการสาขาวิชา

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
(เปลี่ยนทางจาก รายการแขนงความรู้)

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (academic discipline หรือ field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้น ๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่าง ๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน

ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลางช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2390 – พ.ศ. 2440) โดยได้เพิ่มวิชาภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่คลาสสิก วรรณคดี และวิชาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์เสริมเข้าไปในหลักสูตรแบบประเพณีโบราณ

ในต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2440 – พ.ศ. 2475) ได้มีการเพิ่มสาขาวิชาใหม่ ๆ เช่น การศึกษา สังคมวิทยา และจิตวิทยา ในมหาวิทยาลัยต่างๆ และในช่วงประมาณ พ.ศ. 2513 – พ.ศ. 2523) ได้เกิดปรากฏการณ์ "การระเบิด" ของสาขาวิชาใหม่ ๆ ที่เน้นเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เช่น สื่อศึกษา สตรีศึกษา และชนผิวดำศึกษา สาขาใหม่ๆ เหล่านี้จัดขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับอาชีพและวิชาชีพต่าง ๆ เช่น การพยาบาล การจัดการโรงพยาบาล การราชทัณฑ์ และหลังสุดก็ได้เห็นสาขาวิชาที่เป็นลักษณะ "สหสาขาวิชา" เช่น ชีวเคมี และ ธรณีฟิสิกส์เกิดเพิ่มขึ้นและได้รับการยอมรับว่าสาขาวิชาใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวางขึ้น

เครื่องหมายดอกจัน * แสดงเป็นหมายเหตุว่าสาขาวิชานั้นยังเป็นที่ถกเถียงถึงสถานภาพว่าควรนับไว้ในสายวิชาใด เช่น วิชามานุษยวิทยา และวิชาภาษาศาสตร์ควรจัดไว้ในกลุ่มสังคมศาสตร์ หรือ มนุษยศาสตร์ เป็นที่สังเกตได้ว่าบางท่าน โดยเฉพาะนักทฤษฎีวิจารณ์มักให้ความสำคัญในการบ่งชี้การจัดกลุ่มที่เข้มงวดในทุกสายวิชา รวมทั้งความชัดเจนของโครงสร้างของแนวคิดโดยรวมของแต่ละวิชาซึ่งยังเป็นถกเถียงได้มากสำหรับบางคน

มนุษยศาสตร์ (Humanities)

แก้

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาประวัติศาสตร์ (List of basic history topics)

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาปรัชญา (List of basic philosophy topics)

ดูบทความประกอบ: รายชื่อศาสนา (List of religions and spiritual traditions)

ดูบทความประกอบ: แขนงของวิชาภาษา (List of Languages) , แขนงของวิชาภาษาศาสตร์ (List of basic linguistics topics) , แขนงของสาขาวิชาภาษาศาสตร์มานุษยวิทยา (Anthropological Linguistics)


สังคมศาสตร์ (Social sciences)

แก้

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชามานุษยวิทยา (Branches of Anthropology)

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาโบราณคดี Branches of Archaeology



ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาภูมิภาคศึกษา (Branches of Area Studies)

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ (Branches of Economics)


ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาภูมิศาสตร์ (Branches of Geography)

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชารัฐศาสตร์ (Branches of Political Science)

ดูบทความประกอบ แขนงของสาขาวิชาจิตวิทยา (Branches of Psychology) , ประเภทของจิตบำบัด (Types of psychotherapy)

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาสังคมวิทยา (Branches of Sociology)

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural sciences)

แก้

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาดาราศาสตร์ (Branches of Astronomy)


ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์โลก (Branches of Earth Sciences)

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต และ จิตวิทยา

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาเคมี Branches of Chemistry)

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาฟิสิกส์ (Branches of Physics)

วิทยาศาสตร์รูปนัย (Formal science)

แก้

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาคณิตศาสตร์ (Branches of Mathematics) และ AMS Mathematics Subject Classification เก็บถาวร 2006-10-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน


ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาวิทยาการคอมพิมเตอร์พื้นฐาน (Branches of Computer Science) และที่ ACM Computing Classification System เก็บถาวร 2008-07-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied science)

แก้


ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาวิศวกรรม (Branches of Engineering)

ดูบทความประกอบ: แขนงของสาขาวิชาการแพทย์ (Branches of Medicine)

ดูเพิ่ม

แก้


แหล่งข้อมูลอื่น

แก้