สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่

จังหวัดแพร่ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดแพร่
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง108,026 (เพื่อไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (3)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดแพร่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์[2]

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสูงเม่น (ยกเว้นตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) และอำเภอเมืองแพร่ (ยกเว้นตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงษ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสอง, อำเภอร้องกวาง, อำเภอหนองม่วงไข่ และอำเภอเมืองแพร่ (เฉพาะตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงษ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลอง, อำเภอวังชิ้น, อำเภอเด่นชัย และอำเภอสูงเม่น (เฉพาะตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง)
  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสูงเม่น (ยกเว้นตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) และอำเภอเมืองแพร่ (ยกเว้นตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสอง, อำเภอร้องกวาง, อำเภอหนองม่วงไข่ และอำเภอเมืองแพร่ (เฉพาะตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลอง, อำเภอวังชิ้น, อำเภอเด่นชัย และอำเภอสูงเม่น (เฉพาะตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง)
  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองแพร่, อำเภอหนองม่วงไข่, อำเภอร้องกวาง และอำเภอสอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลอง, อำเภอสูงเม่น, อำเภอเด่นชัย และอำเภอวังชิ้น
  2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสูงเม่น (ยกเว้นตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) และอำเภอเมืองแพร่ (ยกเว้นตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสอง, อำเภอร้องกวาง, อำเภอหนองม่วงไข่ และอำเภอเมืองแพร่ (เฉพาะตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลอง, อำเภอวังชิ้น, อำเภอเด่นชัย และอำเภอสูงเม่น (เฉพาะตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง)
  3 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

แก้
      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายทอง กันทาธรรม
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายทอง กันทาธรรม
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายวิภาต บุญศรี วังซ้าย (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายวัง ศศิบุตร
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายวัง ศศิบุตร

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512

แก้
      พรรคชาตินิยม
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคอิสระ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายทอง กันทาธรรม นายวัง ศศิบุตร
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายไชย วงศ์สว่าง
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายผจญ ผาทอง นายสุธรรม สายศร

ชุดที่ 11–20; พ.ศ. 2518–2539

แก้
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคเสรีชน
      พรรคชาติไทย
      พรรครวมไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรครวมไทยพรรคเอกภาพ
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 คุณหญิงบัวเขียว รังคสิริ นายเมธา เอื้ออภิญญกุล จ่าสิบเอก สมชาย อินทราวุธ
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 คุณหญิงบัวเขียว รังคสิริ นายรัตน์ พนมขวัญ นายนคร ตันจันทร์พงศ์
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายณรงค์ วงศ์วรรณ นายดุสิต รังคสิริ นายพล วัชรปรีชา
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายณรงค์ วงศ์วรรณ นายดุสิต รังคสิริ นายพล วัชรปรีชา
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายณรงค์ วงศ์วรรณ นายพล วัชรปรีชา (เสียชีวิต)
นายชูวิทย์ จิตรสกุล (แทนนายพล)
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายณรงค์ วงศ์วรรณ นายชูวิทย์ จิตรสกุล
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายณรงค์ วงศ์วรรณ นายเมธา เอื้ออภิญญกุล
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายณรงค์ วงศ์วรรณ นายเมธา เอื้ออภิญญกุล
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายทศพร เสรีรักษ์ นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายทศพร เสรีรักษ์
2 นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู นายอนุวัธ วงศ์วรรณ
3 นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล (   / เลือกตั้งใหม่)
นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล (   / เลือกตั้งใหม่)
นางปานหทัย เสรีรักษ์ (   / เลือกตั้งใหม่)

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

แก้
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นางปานหทัย เสรีรักษ์ นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายเอกการ ซื่อทรงธรรม นายกฤติเดช สันติวชิระกุล ยุบเขต 3
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายทศพร เสรีรักษ์ นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. สถาบันพระปกเกล้า. นักการเมืองถิ่นจังหวัดแพร่ กรุงเทพ : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า. 2555

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้