จังหวัดแพร่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2522 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

จังหวัดแพร่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน266,451
ผู้ใช้สิทธิ57.97%
  First party Second party
 
พรรค ไม่สังกัดพรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 0 3
ที่นั่งที่ชนะ 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดแพร่ทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดแพร่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไม่สังกัดพรรค ณรงค์ วงศ์วรรณ (1)* 96,278 ' '
ไม่สังกัดพรรค ดุสิต รังคสิริ (2)* 87,696 ' '
ไม่สังกัดพรรค พล วัชรปรีชา (3)* 74,358 ' '
ประชาธิปัตย์ จ่าสิบเอก สมชาย อินทราวุธ (4)✔ 59,751
ไม่สังกัดพรรค ร้อยตรี พร เทพศุภร (6) 50,187
ประชาธิปัตย์ ประชุม มีนะรินทร์ (5) 18,143
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก รวมไทย (พ.ศ. 2529)
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก รวมไทย (พ.ศ. 2529)
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก รวมไทย (พ.ศ. 2529)

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526