พ.ศ. 2493
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1950)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
พุทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีขาล โทศก จุลศักราช 1312 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2493 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1950 MCML |
Ab urbe condita | 2703 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1399 ԹՎ ՌՅՂԹ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6700 |
ปฏิทินบาไฮ | 106–107 |
ปฏิทินเบงกอล | 1357 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2900 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 14 Geo. 6 – 15 Geo. 6 |
พุทธศักราช | 2494 |
ปฏิทินพม่า | 1312 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7458–7459 |
ปฏิทินจีน | 己丑年 (ฉลูธาตุดิน) 4646 หรือ 4586 — ถึง — 庚寅年 (ขาลธาตุโลหะ) 4647 หรือ 4587 |
ปฏิทินคอปติก | 1666–1667 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3116 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1942–1943 |
ปฏิทินฮีบรู | 5710–5711 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2006–2007 |
- ศกสมวัต | 1872–1873 |
- กลียุค | 5051–5052 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11950 |
ปฏิทินอิกโบ | 950–951 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1328–1329 |
ปฏิทินอิสลาม | 1369–1370 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 25 (昭和25年) |
ปฏิทินจูเช | 39 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4283 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 39 民國39年 |
ผู้นำประเทศไทย
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี: จอมพล ป. พิบูลสงคราม (8 เมษายน พ.ศ. 2491 – 16 กันยายน พ.ศ. 2500)
เหตุการณ์
แก้- 9 มกราคม - หนังสือพิมพ์ "ข่าวภาพ" รายสัปดาห์ ฉบับปฐมฤกษ์ วางจำหน่าย และ ได้พัฒนาต่อมา เป็น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ในปัจจุบัน
- 9 กุมภาพันธ์ - วุฒิสมาชิก โจเซฟ แม็กคาร์ที วิจารณ์กระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา ว่าเต็มไปด้วยคอมมิวนิสต์
- 17 กุมภาพันธ์ - กองทัพปลดแอกประชาชนรบกับกองทัพก๊กมินตั๋งบนจีนแผ่นดินใหญ่เป็นครั้งสุดท้ายที่เมืองแช่ สิบสองปันนา
- 1 มีนาคม - สงครามเย็น: ศาลอังกฤษตัดสินให้ คลอส ฟุคส์ นักฟิสิกส์เชื้อชาติเยอรมัน จำคุก 14 ปี หลังพบว่า เขาจารกรรมข้อมูลลับสุดยอดเกี่ยวกับระเบิดอะตอม ให้แก่สหภาพโซเวียต
- 28-29 มีนาคม - วันถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
- 15 เมษายน - จัดงานวันแม่ครั้งแรกของไทย
- 27 เมษายน - พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินเปิดพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ณ โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร
- 28 เมษายน - พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เข้า พิธีราชาภิเษกสมรส กับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร
- 5 พฤษภาคม - พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประกอบ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
- 21 พฤษภาคม - คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญารัฐศาสตร์ดุษฎีกิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เป็นปริญญาดุษฎีกิตติมศักดิ์ใบแรกในรัชสมัยของพระองค์
- 7 มิถุนายน - ศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีหะยีสุหลง ให้จำคุกหะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ 4 ปี 8 เดือน ส่วนจำเลยอื่นยืนตามศาลชั้นต้น
- 25 มิถุนายน - หนังสือพิมพ์ สยามรัฐ ฉบับปฐมฤกษ์ ออกวางจำหน่าย
- 25 มิถุนายน - สงครามเกาหลีระหว่างสหประชาชาติกับเกาหลีเหนือ เริ่มต้นขึ้น
- 27 มิถุนายน - สหรัฐอเมริกาตัดสินใจส่งกองทัพเข้าร่วมสงครามเกาหลี
- 28 มิถุนายน - ประเทศเกาหลีเหนือเข้ายึดครองกรุงโซลของเกาหลีใต้
- 15 กันยายน - สงครามเกาหลี: กองทัพสหรัฐอเมริกายกพลขึ้นบก ณ เมืองอินชอน ประเทศเกาหลี
- 2 ตุลาคม - Peanuts การ์ตูนชุด โดยชาลส์ เอ็ม. ชูลส์ ที่มี ชาร์ลี บราวน์ และ สนูปปี้ สัตว์เลี้ยงของเขา เป็นตัวเอก ตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ 7 ฉบับ ในสหรัฐอเมริกา
- 30 พฤศจิกายน - ศาลฎีกาพิพากษาคดีหะยีสุหลง โดยพิพากษายืนตามศาลชั้นต้น
- 10 ธันวาคม - ตั้งชื่อถนนเพชรเกษม เพื่อเป็นเกียรติแก่ หลวงเพชรเกษมวิถีสวัสดิ์ (แถม เพชรเกษม) อธิบดีกรมทางหลวงคนที่ 7 และ ถนนพหลโยธิน
ไม่ทราบวัน
แก้- เริ่มการซ่อมแซมสะพานพระราม 6 หลังได้รับความเสียหายในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
- มีการอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคารของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล มาบรรจุที่ผ้าทิพย์ด้านหน้าพุทธบัลลังก์พระศรีศากยมุนี ภายในวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
- ค้นพบ ธาตุแคลิฟอร์เนียม
วันเกิด
แก้มกราคม
แก้- 1 มกราคม -
- รุ้งลาวัลย์ ศรีปฏิมากูร นักแสดงชาวไทย
- รำรี มามะ นักการเมืองไทย
- 2 มกราคม - วิรัช ชาญพานิชย์ วิศวกรชาวไทย
- 8 มกราคม - พิชัย มงคลวิรกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 5 สมัย (ถึงแก่กรรม 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540)
- 9 มกราคม - สุพัตรา มาศดิตถ์ อดีตนักการเมืองสตรีชาวไทย
- 10 มกราคม
- ธีรยุทธ บุญมี อดีตนักวิชาการชาวไทย
- วินฟรีด เชเฟอร์ นักฟุตบอลชาวเยอรมัน
- 12 มกราคม - สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 18 มกราคม
- คมทวน คันธนู นักประพันธ์รางวัลซีไรต์
- ระวี กิ่งคำวงศ์ อดีตทนายความชาวไทย
- 21 มกราคม - บิลลี โอเชียน นักร้องชาวอังกฤษ
- 22 มกราคม
- จารุจินต์ นภีตะภัฏ อดีตผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
- พระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน) พระพรหมมุนี
- 23 มกราคม - ริชาร์ด ดีน แอนเดอร์สัน นักแสดงชาวอเมริกัน
- 25 มกราคม
- ฌ็อง-มาร์ก เอโร นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส
- ดอน ปรมัตถ์วินัย ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 27 มกราคม - สุรสาล ผาสุข นักการเมืองไทย
- 28 มกราคม - สมเด็จพระราชาธิบดีฮะมัด บิน อีซา อัลเคาะลีฟะฮ์ สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรบาห์เรน
กุมภาพันธ์
แก้- 6 กุมภาพันธ์ – นาตาลี โคล นักดนตรีชาวอเมริกา (ถึงแก่กรรม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558)
- 10 กุมภาพันธ์ – จุ๋มจิ๋ม เข็มเล็ก อดีตนักแสดงตลกชาวไทย (ถึงแก่กรรม 3 กันยายน พ.ศ. 2536)
- 12 กุมภาพันธ์ – ไมเคิล ไอรอนไซด์ นักแสดงชาวแคนาดา
- 13 กุมภาพันธ์ – ปีเตอร์ กาเบรียล นักดนตรีชาวอังกฤษ
- 15 กุมภาพันธ์ – สฺวี เค่อ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีน
- 19 กุมภาพันธ์ – กริสตีนา เฟร์นันเดซ เด กีร์ชเนร์ นักการเมืองสตรี
- 20 กุมภาพันธ์
- เค็ง ชิมุระ นักแสดงตลกชาวญี่ปุ่น
- โทนี วิลสัน พิธีกรชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 10 สิงหาคม พ.ศ. 2550)
- 22 กุมภาพันธ์ – จูเลียส เออร์วิง นักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน
- 23 กุมภาพันธ์ – วันดี ศรีตรัง นักแสดงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 31 สิงหาคม พ.ศ. 2518)
- 25 กุมภาพันธ์
- เนสเตอร์ เคิร์ชเนอร์ นักการเมืองชาวอาร์เจนตินา (ถึงแก่กรรม 27 ตุลาคม พ.ศ. 2553)
- สฤษฏ์ อึ้งอภินันท์ นักการเมืองชาวไทย
- 26 กุมภาพันธ์ – เฮเลน คลาร์ก นักการเมืองชาวนิวซีแลนด์
- 27 กุมภาพันธ์ – บุญส่ง กุลบุปผา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
- 28 กุมภาพันธ์ – จรัญ ภักดีธนากุล ผู้พิพากษาไทย
มีนาคม
แก้- 2 มีนาคม – แคเรน คาร์เพนเทอร์ นักร้องชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526)
- 3 มีนาคม – สุชาติ จันทรโชติกุล อดีตทหารบกชาวไทย
- 10 มีนาคม – บลันเชอ โคมเมอเรล นักแสดงและนักเขียนชาวเยอรมัน
- 13 มีนาคม – วิลเลียม เอช. เมซี นักแสดงชายชาวอเมริกัน
- 18 มีนาคม – พวงเล็ก บุญเชียง อดีตนักธุรกิจชาวไทย
- 20 มีนาคม – วิลเลียม เฮิร์ต นักแสดงชาวอเมริกัน
- 21 มีนาคม – อนันต์ อัศวโภคิน นักธุรกิจชาวไทย
- 24 มีนาคม – ถิรชัย วุฒิธรรม อดีตนักการเมืองไทย
เมษายน
แก้- 5 เมษายน – อารยา ลาภชีวะสิทธิฉัตร นักธุรกิจชาวไทย
- 6 เมษายน
- จงรัก จุฑานนท์ อดีตตำรวจชาวไทย
- ทินา เอินเกิล นักแสดงหญิงชาวเยอรมัน
- เวนิส บ.ข.ส. นักมวยชาวไทย
- 9 เมษายน – นิภาภัทร สุดศิริ นางสาวไทย
- 10 เมษายน – ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ อดีตนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย
- 11 เมษายน – ทวีวัฒน์ หุราพันธ์ อดีตนักฟันดาบสากลชาวไทย
- 12 เมษายน
- จอยซ์ แบนดา นักการเมืองชาวมาลาวี
- ทอม เวอร์เนอร์ นักธุรกิจชาวอเมริกัน
- ยุคล ลิ้มแหลมทอง อดีตข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 13 เมษายน – วิลเลียม แซดเลอร์ (นักแสดง) แสดงละครเวที, ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ชาวอเมริกัน
- 16 เมษายน – สมเด็จวิบุลปัญญา สก อาน นักการเมืองกัมพูชา (ถึงแก่กรรม 15 มีนาคม พ.ศ. 2560)
- 17 เมษายน – แอล. สกอตต์ คาลด์เวลล์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 23 เมษายน – เฮนรี กูดแมน นักแสดงชาวอังกฤษ
- 24 เมษายน – ดนู ฮันตระกูล นักดนตรีชาวไทย
- 25 เมษายน – จันทนา ศิริผล นักแสดงตลกชาวไทย
- 28 เมษายน – เจย์ เลโน พิธีกรรายการทอล์กโชว์ชาวอเมริกัน
พฤษภาคม
แก้- 3 พฤษภาคม – แมรี ฮอปกิน นักร้องชาวเวลส์
- 4 พฤษภาคม – วิรัตน์ กัลยาศิริ นักการเมืองไทย
- 5 พฤษภาคม – กฤษณ์ โชคทิพย์พัฒนา นักร้องชาวไทย
- 6 พฤษภาคม – สมเด็จพระราชาธิบดีอัสซานเตเฮเนโอตุมเฟา นานา โอเซอิ ตูตูที่ 2
- 10 พฤษภาคม – ฟืร์นังดู ปือไรรา นักถ่ายภาพชาวดัตช์ (ถึงแก่กรรม 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2528)
- 11 พฤษภาคม
- ชุง ฟูจิโมโตะ นักกีฬายิมนาสติกทีมชาติญี่ปุ่น
- ระเบียบ แสงนวล นักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทยชุดโอลิมปิก 1972
- 13 พฤษภาคม – สตีวี วันเดอร์ นักร้องชาวอเมริกัน
- 16 พฤษภาคม – อารักษ์ ชลธาร์นนท์ อดีตนักธุรกิจชาวไทย
- 17 พฤษภาคม – เจริญ เอี่ยมพึ่งพร นักธุรกิจชาวไทย (ถึงแก่กรรม 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555)
- 19 พฤษภาคม – จุลสิงห์ วสันตสิงห์ ศาสตราจารย์พิเศษ
- 22 พฤษภาคม – พิทักษ์ จารุสมบัติ ตำรวจชาวไทย
- 23 พฤษภาคม – อร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ อดีตนักธุรกิจชาวไทย
- 26 พฤษภาคม – ฮง ซู-ฮวัน นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้
- 28 พฤษภาคม
- กามาลา นักมวยปล้ำอาชีพชาวแอฟริกันอเมริกัน
- บูรณ์ ฐาปนดุลย์ ผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย
มิถุนายน
แก้- 5 มิถุนายน – สุเทพ ประยูรพิทักษ์ นักแสดงชาวไทย
- 6 มิถุนายน – ยูรี ซัลนิคอฟ อดีตนักกีฬาขี่ม้าและแชมป์โอลิมปิกชาวโซเวียต
- 7 มิถุนายน – ฮาเวิร์ด ฟิงเกิล ผู้ประกาศนักมวยปล้ำอาชีพ
- 8 มิถุนายน – โซเนีย บรากา นักแสดงหญิงชาวบราซิล
- 10 มิถุนายน – โปรโกปิส ปัฟโลปูโลส ชาวกรีก
- 15 มิถุนายน – มิเชล ลอตีโต ผู้ให้ความบันเทิงชาวฝรั่งเศส (ถึงแก่กรรม 25 มิถุนายน พ.ศ. 2550)
- 16 มิถุนายน – เจ้าหญิงเบียทริซแห่งบูร์บง-ซิซิลีทั้งสอง
- 22 มิถุนายน - ฟริทซ์ ฟอน ทวร์นและทักซิส
กรกฎาคม
แก้- 1 กรกฎาคม
- สุธี มากบุญ ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- เอิลเคอ อาเบอร์เลอ นักแสดงหญิงชาวเยอรมัน
- 7 กรกฎาคม – สถาพร ขันธสะอาด นักจักรยานชาวไทย
- 9 กรกฎาคม – สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์ อดีตข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 11 กรกฎาคม – บรูซ แม็กกิลล์ นักแสดงชาวอเมริกา
- 13 กรกฎาคม – หม่า อิงจิ่ว อดีตประธานาธิบดีของสาธารณรัฐจีน
- 16 กรกฎาคม – สุรพล อิสรไกรศีล แพทย์ชาวไทย
- 17 กรกฎาคม - ไฮน์ริช เจ้าชายแห่งเฟือร์สเทนแบร์ก
- 18 กรกฎาคม – ริชาร์ด แบรนสัน นักธุรกิจชาวอังกฤษ
- 19 กรกฎาคม - มงคล ทิพย์พรหมมา ศิลปินหมอลำกลอนชาวไทย
- 24 กรกฎาคม – สรเพชร ภิญโญ นักร้องลูกทุ่งชาวไทย
- 25 กรกฎาคม – พระพุทธิสารโสภณ (เดช กตปุญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดมัชฌันติการาม
- 26 กรกฎาคม – พอล ซีมัวร์ นักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกัน
สิงหาคม
แก้- 1 สิงหาคม – ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 7 สิงหาคม – วงกต มณีรินทร์ อดีตตำรวจชาวไทย
- 8 สิงหาคม – มนตรี ยอดปัญญา ประธานศาลฎีกาไทย (ถึงแก่กรรม 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554)
- 9 สิงหาคม – วิชัย ปุญญะยันต์ นักร้องชาวไทย
- 10 สิงหาคม – สหัส บัณฑิตกุล อดีตวิศวกรชาวไทย
- 11 สิงหาคม - สตีฟ วอซเนียก นักเขียนโปรแกรม
- 13 สิงหาคม – รัชตะ รัชตะนาวิน อดีตข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 14 สิงหาคม – จอห์นนี่ เลเวอร์ นักแสดงชาย
- 15 สิงหาคม
- เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี พระราชธิดาพระองค์เดียวใน สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร กับ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
- ศิริศักดิ์ อ่อนละมัย อดีตนักการเมืองไทย
- 20 สิงหาคม – บัญชา เหมะบุตร นักพากย์การ์ตูนชาวไทย
- 23 สิงหาคม – อลัน ทัม นักร้องและนักแสดงชาวฮ่องกง
- 29 สิงหาคม – กรรณภว์ ธนภรรคภวิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
กันยายน
แก้- 2 กันยายน - ยฺเหวียน หฺวา นักแสดงชาวฮ่องกง
- 8 กันยายน
- เจมส์ แมตทิส นักการเมืองอเมริกัน
- มาร์ทีน โอบรี นักการเมืองฝรั่งเศส
- 10 กันยายน
- โจ เพอร์รี นักดนตรีชาวอเมริกา
- เชิดชัย ตันติศิรินทร์ แพทย์ชาวไทย
- 12 กันยายน – โวจเทค อดัม นักการเมืองชาวเช็กเกีย
- 16 กันยายน – พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล อดีตนักธุรกิจชาวไทย
- 19 กันยายน – ไพโรจน์ วายุภาพ ประธานศาลฎีกาชาวไทย
- 21 กันยายน
- บิล เมอร์เรย์ นักแสดงอเมริกา
- วินัย วงศ์ทิม ทหารเรือชาวไทย
- 23 กันยายน – จุมพล มั่นหมาย อดีตตำรวจชาวไทย (ถึงแก่กรรม 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565)
- 30 กันยายน – ฟอนดี เคอร์ติส-ฮอลล์ นักแสดง, นักเขียนบท, ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้กำกับรายการโทรทัศน์ชาวอเมริกัน
ตุลาคม
แก้- ตุลาคม – ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล อดีตแพทย์ชาวไทย
- 7 ตุลาคม –
- จาคายา คิเควเต นักการเมืองแทนซาเนีย
- วีระพล ตั้งสุวรรณ ประธานศาลฎีกาไทย
- 8 ตุลาคม – นคร เวชสุภาพร คริสต์ศาสนิกชนนิกายโปรเตสแตนต์ชาวไทย
- 13 ตุลาคม
- พิเชษฐ์ วิสัยจร อดีตทหารบกชาวไทย
- ศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช อดีตข้าราชการชาวไทย (ถึงแก่กรรม 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553)
- 16 ตุลาคม – ฉี เส้าเฉียน นักแสดงชาวฮ่องกง
- 19 ตุลาคม
- ชาร์ล นโปเลียน นักการเมืองฝรั่งเศส
- วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา อดีตทหารบกชาวไทย
- 20 ตุลาคม – ฌอร์ฌึ การ์ลุช ฟงเซกา ประธานาธิบดีกาบูเวร์ดี
- 21 ตุลาคม –
- เจือง เติ๊น ซาง อดีตประธานาธิบดีเวียดนาม
- เดวิด ลาสเซลเลส เอิร์ลที่ 8 แห่งแฮร์วูด
- 23 ตุลาคม
- หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล พระราชปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- สุวิทย์ ธาระรูป ทหารเรือชาวไทย
- 24 ตุลาคม - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทหารบกชาวไทย
- 26 ตุลาคม - บุญเสริม วิทยชำนาญกุล นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย
- 28 ตุลาคม - เมธา บุนนาค สถาปนิกชาวไทย
- 31 ตุลาคม
- โฉมฉาย ฉัตรวิไล นักแสดงหญิงชาวไทย
- ซาฮา ฮาดิด สถาปนิกชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 31 มีนาคม พ.ศ. 2559)
- ดิเรก อิงคนินันท์ ประธานศาลฎีกาไทย
พฤศจิกายน
แก้- 3 พฤศจิกายน - เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง รองศาสตราจารย์
- 5 พฤศจิกายน
- ช็อง เซ-กยุน นักการเมืองชาวเกาหลีใต้
- ยง ภู่วรวรรณ - ยืน ภู่วรวรรณ ศาสตราจารย์
- 6 พฤศจิกายน - สมเพียร เอกสมญา อดีตตำรวจชาวไทย (ถึงแก่กรรม 12 มีนาคม พ.ศ. 2556)
- 10 พฤศจิกายน - บ๊อบ ออร์ตัน จูเนียร์ อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 15 พฤศจิกายน - เจ้าหญิงเอเลนาแห่งโรมาเนีย เจ้าหญิงโรมาเนีย
- 16 พฤศจิกายน - ประกอบ รัตนพันธ์ ครูชาวไทย
- 19 พฤศจิกายน - ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ (ถึงแก่กรรม 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556)
- 28 พฤศจิกายน - เอ็ด แฮร์ริส นักแสดงชาวอเมริกัน
- 30 พฤศจิกายน - ไกรลาศ เกรียงไกร นักแสดงชายชาวไทย
ธันวาคม
แก้- 2 ธันวาคม
- กิตติพงษ์ เกษโกวิท ทหารบกชาวไทย
- วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ อดีตนักการเมืองสตรีชาวไทย
- 5 ธันวาคม - ไชยยศ สะสมทรัพย์ อดีตนักการเมืองไทย
- 6 ธันวาคม - โจ ฮิไซชิ นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น
- 8 ธันวาคม - สรพงษ์ ชาตรี นักแสดงชายชาวไทยและศิลปินแห่งชาติ
- 12 ธันวาคม - รชนีกานต์ นักแสดงชาวอินเดีย
- 20 ธันวาคม - นัดดา วิยกาญจน์ นักร้องและนักแสดงชาวไทย
- 21 ธันวาคม - เจฟฟรีย์ แคตเซนเบิร์ก ชาวอเมริกันเชื้อสายยิว
- 22 ธันวาคม - ทรงกิตติ จักกาบาตร์ อดีตทหารบกชาวไทย
- 23 ธันวาคม - บีเซนเต เดล โบสเก อดีตนักฟุตบอลชาวสเปน อดีตผู้จัดการทีมทีมชาติสเปน
- 24 ธันวาคม - วันดี พลทองสถิตย์ ศิลปินพื้นบ้านหมอลำ
- ? - พอล อดัมส์ (นักปืนเขา) นักปีนเขา
- ? - ภูวดล ทรงประเสริฐ ศาสตราจารย์
- ? - มนต์รัก ขวัญโพธิ์ไทย นักร้องลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527)
- ? - สมคิด สิงสง นักแต่งเพลงชาวไทย
- ? - สมเด็จพระราชินีซัยยิดาเอาวัล บินติตาริก
วันถึงแก่กรรม
แก้- 21 มกราคม - จอร์จ ออร์เวลล์ นักประพันธ์ชาวอังกฤษ (เกิด 25 มิถุนายน พ.ศ. 2446)
- 27 กุมภาพันธ์ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ (ประสูติ 30 กันยายน พ.ศ. 2409)
- 20 มีนาคม - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์ (ประสูติ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2427)
- 29 ตุลาคม - สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 5 แห่งสวีเดน (พระราชสมภพ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2401)