รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (สวีเดน: Nobelpriset i fysiologi eller medicin; อังกฤษ: Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี ค.ศ. 1895 โดยอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้คิดค้นไดนาไมต์ ในพินัยกรรมของเขา โนเบลมีความสนใจส่วนตัวในด้านสรีรวิทยาเชิงทดลองและอยากให้มีการจัดตั้งรางวัลสำหรับกระบวนการตลอดทั้งการค้นพบทางวิทยาศาสตร์จากห้องทดลอง รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์จะคัดเลือกโดยสมัชชาโนเบลแห่งสถาบันแคโรลินสกา และมอบให้แก่ผู้รับในพิธีประจำปีในวันที่ 10 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันครบรอบวันเสียชีวิตของโนเบล ร่วมกับประกาศนียบัตรชั้นสูงและประกาศนียบัตรแก่รางวัลที่เป็นเงิน ด้านหน้าของเหรียญเป็นรูปหน้าด้านข้างของอัลเฟรด โนเบล เช่นเดียวกับเหรียญที่ให้ในสาขาฟิสิกส์ เคมี และสาขาวรรณกรรม หากแต่ด้านหลังของเหรียญนี้เป็นเอกลักษณ์

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์
สวีเดน: Nobelpriset i fysiologi eller medicin
รางวัลสำหรับการค้นพบทางสรีรวิทยาหรือการแพทย์ที่นำไปสู่ประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ
ที่ตั้งสต็อกโฮล์ม
ประเทศประเทศสวีเดน Edit this on Wikidata
จัดโดยสมัชชาโนเบลแห่งสถาบันแคโรลินสกา
รางวัล11 ล้านครูนาสวีเดน (2023)[1]
รางวัลแรก1901
ผู้รับรางวัลกอตอลิน กอริโก และดรูว์ ไวส์แมน (2023)
เว็บไซต์nobelprize.org/prizes/medicine

จนถึงปี ค.ศ. 2023 มีการมอบรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์แล้วทั้งสิ้น 114 ครั้ง โดยมีจำนวนผู้รับรางวัล 227 คน แบ่งเป็นชาย 214 คน และหญิง 13 คน

รายนามผู้ได้รับรางวัล แก้

พ.ศ. 2444 – พ.ศ. 2468 (ค.ศ. 1901–1925) แก้

ปี พ.ศ./ค.ศ. ชื่อ ประเทศ หัวข้อ
2444/1901   เอมีล อาด็อล์ฟ ฟ็อน เบริง
(Emil Adolf von Behring)
  เยอรมนี "สำหรับงานของท่านในเรื่องการรักษาด้วยซีรัม (serum therapy) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันโรคคอตีบ ซึ่งเป็นการเปิดทางใหม่ไปสู่ขอบเขตความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเป็นอาวุธของแพทย์ในการต่อสู้กับความเจ็บป่วยและความตาย"[2]
2445/1902   โรนัลด์ รอสส์
(Ronald Ross)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับงานของท่านในด้านมาลาเรีย ซึ่งท่านได้แสดงถึงวิธีการเข้าสู่ร่างกายสิ่งมีชีวิต และเป็นพื้นฐานสำหรับการวิจัยที่ประสบความสำเร็จเกี่ยวกับโรคนี้ และวิธีการต่อสู่กับมัน"[3]
2446/1903   นิลส์ รือแปร์ ฟินเซิน
(Niels Ryberg Finsen)
  เดนมาร์ก "ให้ไว้เพื่อความระลึกถึงการอุทิศตนของท่านในวิธีการรักษาโรค โดยเฉพาะโรค lupus vulgaris (การแสดงออกของการติดเชื้อวัณโรคที่ผิวหนัง) โดยการใช้รังสีแสงเข้มข้น (concentrated light radiation) อันเป็นการเปิดทางใหม่ในความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์"[4]
2447/1904   อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ
(Ivan Petrovich Pavlov)
  รัสเซีย "ให้ไว้เพื่อระลึกถึงงานของท่านในด้านสรีรวิทยาของการย่อยอาหาร ซึ่งทำให้ความรู้ในแง่มุมที่สำคัญของวิชานี้ได้เปลี่ยนแปลงและกว้างขวางขึ้น"[5]
2448/1905   โรแบร์ท ค็อค
(Robert Koch)
  เยอรมนี "สำหรับการตรวจสอบและค้นคว้าวัณโรค"[6]
2449/1906   กามิลโล กอลจี
(Camillo Golgi)
  อิตาลี "ให้ไว้เพื่อระลึกถึงงานของท่านในด้านโครงสร้างของระบบประสาท"[7]
  ซานเตียโก รามอน อี กาฆัล
(Santiago Ramón y Cajal)
  สเปน
2450/1907   ชาร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง
(Charles Louis Alphonse Laveran)
  ฝรั่งเศส "ให้ไว้เพื่อระลึกถึงงานบทบาทของโพรโทซัวที่ทำให้เกิดโรค"[8]
2451/1908   อีลี เมตช์นิคอฟ
(Élie Metchnikoff)
  รัสเซีย "ให้ไว้เพื่อระลึกถึงงานของท่านในด้านภูมิคุ้มกัน"[9]
  เพาล์ แอร์ลิช
(Paul Ehrlich)
  เยอรมนี
2452/1909   เอมีล เทโอดอร์ ค็อคเคอร์
(Emil Theodor Kocher)
  สวิตเซอร์แลนด์ "สำหรับงานของท่านในด้านสรีรวิทยา พยาธิวิทยา และศัลยศาสตร์ของต่อมไทรอยด์"[10]
2453/1910   อัลเบร็ชท์ ค็อสเซิล
(Albrecht Kossel)
  เยอรมนี "ให้ไว้เพื่อระลึกถึงการอุทิศตนเพื่อความรู้ในด้านเคมีของเซลล์ ผ่านทางงานของท่านในด้านโปรตีน รวมถึงกรดนิวคลีอิก"[11]
2454/1911   อัลล์วาร์ กูลล์สตรานด์
(Allvar Gullstrand)
  สวีเดน "สำหรับงานของท่านในด้านการหักเหของแสงในตา"[12]
2455/1912   อาแล็กซี กาแรล
(Alexis Carrel)
  ฝรั่งเศส "ให้ไว้เพื่อระลึกถึงงานของท่านในด้านการเย็บหลอดเลือดและการปลูกถ่าย (transplantation) หลอดเลือดและอวัยวะ"[13]
2456/1913   ชาร์ล รอแบร์ รีแช
(Charles Robert Richet)
  ฝรั่งเศส "ให้ไว้เพื่อระลึกถึงงานของท่านในเรื่องแอนาฟิแล็กซิส (anaphylaxis) "[14]
2457/1914   โรแบร์ต บาราญ
(Robert Bárány)
  ออสเตรีย "สำหรับงานของท่านในด้านสรีรวิทยาและพยาธิวิทยาของเวสติบิวลาร์แอปพาราตัส (vestibular apparatus) "[15]
2458/1915 ไม่มีการมอบรางวัล
2459/1916 ไม่มีการมอบรางวัล
2460/1917 ไม่มีการมอบรางวัล
2461/1918 ไม่มีการมอบรางวัล
2462/1919   ฌูล บอร์แด
(Jules Bordet)
  เบลเยียม "สำหรับงานของท่านในการค้นพบที่สัมพันธ์กับภูมิคุ้มกัน"[16]
2463/1920   แชก เอาโกสต์ สตีนแปร์ โครว์
(Schack August Steenberg Krogh)
  เดนมาร์ก "สำหรับการค้นพบกลไกควบคุมการสั่งการของหลอดเลือดฝอย" (ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการแลกเปลี่ยนแก๊สในปอดเป็นการแพร่ธรรมดา) [17]
2464/1921 ไม่มีการมอบรางวัล
2465/1922   อาร์คิบัลด์ วิเวียน ฮิลล์
(Archibald Vivian Hill)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบการผลิตความร้อนในกล้ามเนื้อ"[18]
  อ็อทโท ฟริทซ์ ไมเออร์โฮฟ
(Otto Fritz Meyerhof)
  เยอรมนี "สำหรับการค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ออกซิเจนและเมแทบอลิซึมของกรดแลกติกในกล้ามเนื้อ"[18]
2466/1923   เฟรเดอริก แบนติง
(Frederick Grant Banting)
  แคนาดา "สำหรับการค้นพบอินซูลิน"[19]
  จอห์น เจมส์ ริชาร์ด แมเคลด
(John James Richard Macleod)
  สหราชอาณาจักร
2467/1924   วิลเลิม ไอนต์โฮเฟิน
(Willem Einthoven)
  เนเธอร์แลนด์ "สำหรับการค้นพบกลไกของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiogram) "[20]
2468/1925 ไม่มีการมอบรางวัล

พ.ศ. 2469 – พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1926–1950) แก้

ปี พ.ศ./ค.ศ. ชื่อ ประเทศ หัวข้อ
2469/1926 โยแฮนเนิส แอนเตรแอส กริป ฟีปีเกอร์
(Johannes Andreas Grib Fibiger)
  เดนมาร์ก "สำหรับการค้นพบ Spiroptera carcinoma"[21]
2470/1927 ยูลีอุส วากเนอร์-เยาเร็ค
(Julius Wagner-Jauregg)
  ออสเตรีย "สำหรับการค้นพบของท่านในคุณค่าการรักษาโดยการปลูกเชื้อมาลาเรียในการรักษาอาการอัมพาต ชนิดเดเมนเทียพาราไลติกา (dementia paralytica) "[22]
2471/1928 ชาร์ล ฌูล อ็องรี นีกอล
(Charles Jules Henri Nicolle)
  ฝรั่งเศส "สำหรับงานของท่านด้านไข้รากสาดใหญ่"[23]
2472/1929 คริสตียาน ไอก์มัน
(Christiaan Eijkman)
  เนเธอร์แลนด์ "สำหรับการค้นพบของท่านในด้านวิตามินในการรักษาอาการเหน็บชา (antineuritic vitamin) "[24]
เซอร์เฟรเดอริก กาวแลนด์ ฮ็อปกินส์
(Sir Frederick Gowland Hopkins)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบของท่านในด้านวิตามินที่กระตุ้นการเจริญเติบโต"[24]
2473/1930 คาร์ล ลันท์ชไตเนอร์
(Karl Landsteiner)
  ออสเตรีย "สำหรับการค้นพบของท่านด้านหมู่เลือดของมนุษย์"[25]
2474/1931 อ็อทโท ไฮน์ริช วาร์บวร์ค
(Otto Heinrich Warburg)
  เยอรมนี "สำหรับการค้นพบธรรมชาติและการทำงานของเอนไซม์เกี่ยวกับการหายใจ"[26]
2475/1932 เซอร์ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน
(Sir Charles Scott Sherrington)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบการทำงานของเซลล์ประสาท"[27]
เอ็ดการ์ ดักลาส เอเดรียน
(Edgar Douglas Adrian)
  สหราชอาณาจักร
2476/1933 โทมัส ฮันท์ มอร์แกน
(Thomas Hunt Morgan)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบบทบาทของโครโมโซมในกรรมพันธุ์"[28]
2477/1934 จอร์จ วิปเปิล
(George Whipple)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบการรักษาตับเมื่อเกิดโลหิตจาง"[29]
จอร์จ ไมนอท
(George Minot)
  สหรัฐ
วิลเลียม พี. เมอร์ฟี
(William P. Murphy)
  สหรัฐ
2478/1935 ฮันส์ ชเปมัน
(Hans Spemann)
  ไรช์เยอรมัน "สำหรับการค้นพบของท่านในด้านอิทธิพลของการจัดการ (organizer effect) ในการเจริญของเอ็มบริโอ"[30]
2479/1936 เซอร์เฮนรี ฮอลเลตต์ เดล
(Sir Henry Hallett Dale)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบการส่งผ่านสารเคมีของกระแสประสาท"[31]
อ็อทโท เลอวี
(Otto Loewi)
  ไรช์เยอรมัน ค.ศ. 1903
  ออสเตรีย ค.ศ. 1946
  สหรัฐ
2480/1937 อ็อลแบร์ต แซ็นต์-เยิร์จยี
(Albert Szent-Györgyi von Nagyrapolt)
  ฮังการี "สำหรับการค้นพบของท่านในความเกี่ยวข้องระหว่างกระบวนการเผาผลาญทางชีวภาพกับวิตามินซีและการเพิ่มปฏิกิริยาเคมีของกรดฟูมาริก"[32]
2481/1938 กอร์แนย์ ฌ็อง ฟร็องซัว แอม็องส์
(Corneille Jean François Heymans)
  เบลเยียม "สำหรับการค้นพบบทบาทของโพรงอากาศและกลไกของหลอดเลือดแดงเอออร์ตาในการควบคุมการหายใจ"[33]
2482/1939 แกร์ฮาร์ท โดมัค
(Gerhard Domagk)
  ไรช์เยอรมัน "สำหรับการค้นพบฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของพรอนโทซิล (prontosil) "[34]
2483/1940 ไม่มีการมอบรางวัล
2484/1941 ไม่มีการมอบรางวัล
2485/1942 ไม่มีการมอบรางวัล
2486/1943 คาร์ล พีเตอร์ เฮนเรก ตัม
(Carl Peter Henrik Dam)
  เดนมาร์ก "สำหรับการค้นพบวิตามินเค"[35]
เอ็ดเวิร์ด อเดลเบิร์ท ดอยซี
(Edward Adelbert Doisy)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบธรรมชาติทางเคมีของวิตามินเค"[35]
2487/1944 โจเซฟ เออร์แลงเกอร์
(Joseph Erlanger)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบหน้าที่ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างสูงของใยประสาท"[36]
เฮอร์เบิร์ท สเปนเซอร์ แกสเซอร์
(Herbert Spencer Gasser)
  สหรัฐ
2488/1945 เซอร์อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง
(Sir Alexander Fleming)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบเพนนิซิลินและผลการรักษาโรคติดต่อหลายชนิดของมัน"[37]
แอร์นส์ บอริส ไชน
(Ernst Boris Chain)
  ไรช์เยอรมัน
  สหราชอาณาจักร
เซอร์โฮเวิร์ด วอลเตอร์ ฟลอรีย์
(Sir Howard Walter Florey)
  ออสเตรเลีย
  สหราชอาณาจักร
2489/1946 เฮอร์แมนน์ โจเซฟ มุลเลอร์
(Hermann Joseph Muller)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบผลผลิตของการกลายพันธุ์โดยการแผ่รังสีเอกซ์"[38]
2490/1947 คาร์ล เฟอร์ดินานด์ คอรี
(Carl Ferdinand Cori)
  เชโกสโลวาเกีย
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบของท่านในกระบวนการเปลี่ยนแปลงโดยการสลายของไกลโคเจน"[39]
เกอร์ตี คอรี
(Gerty Theresa Cori)
  เชโกสโลวาเกีย
  สหรัฐ
เบร์นาร์โด อัลเบร์โต ฆูไซ
(Bernardo Alberto Houssay)
  อาร์เจนตินา "สำหรับการค้นพบของท่านในบทบาทของฮอร์โมนของต่อมใต้สมองในกระบวนการเมแทบอลิซึมของน้ำตาล"[39]
2491/1948 เพาล์ แฮร์มัน มึลเลอร์
(Paul Hermann Müller)
  สวิตเซอร์แลนด์ "สำหรับการค้นพบของท่านในประสิทธิภาพของดีดีทีในฐานะเป็นสารต่อต้านแมลงหลายชนิด"[40]
2492/1949 วัลเทอร์ รูด็อล์ฟ เฮ็ส
(Walter Rudolf Hess)
  สวิตเซอร์แลนด์ "สำหรับการค้นพบการจัดเรียงตำแหน่งตามหน้าที่ของก้านสมองในฐานะเป็นตัวประสานงานการทำงานของอวัยวะภายใน"[41]
อังตอนียู ไกตานู ดึ อาเบรว ไฟรรึ แอกัช มูนิช
(António Caetano de Abreu Freire Egas Moniz)
  โปรตุเกส "สำหรับการค้นพบของท่านในคุณค่าของการรักษาโดยการตัดเนื้อสมองส่วนเนื้อขาวของสมองส่วนหน้า (leucotomy) ในผู้ป่วยโรคจิตบางชนิด"[41]
2493/1950 เอ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์
(Edward Calvin Kendall)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบฮอร์โมนของต่อมหมวกไตชั้นนอก โครงสร้างของมันและผลทางชีววิทยา"[42]
ทาเดอุช ไรช์ชไตน์
(Tadeusz Reichstein)
  โปแลนด์
  สวิตเซอร์แลนด์
ฟิลิป โชวอลเตอร์ เฮนช์
(Philip Showalter Hench)
  สหรัฐ

พ.ศ. 2494 – พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1951–1975) แก้

ปี พ.ศ./ค.ศ. ชื่อ ประเทศ หัวข้อ
2494/1951 แมกซ์ ไทเลอร์
(Max Theiler)
  แอฟริกาใต้
  สวิตเซอร์แลนด์
"สำหรับการค้นพบไข้เหลืองและวิธีการต่อสู้กับมัน"[43]
2495/1952 เซลมัน แวกส์มัน
(Selman Abraham Waksman)
  รัสเซีย ค.ศ. 1916
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบสเตรปโตมัยซิน ยาปฏิชีวนะตัวแรกที่มีผลต้านวัณโรค"[44]
2496/1953 ฮันส์ อาด็อล์ฟ เครพส์
(Hans Adolf Krebs)
  เยอรมนีตะวันตก
  สหราชอาณาจักร
"สำหรับการค้นพบวัฏจักรกรดซิตริก"[45]
ฟริทซ์ อัลแบร์ท ลิพมัน
(Fritz Albert Lipmann)
  เยอรมนีตะวันตก
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบโคเอนไซม์เอและความสำคัญในกระบวนการเมแทบอลิซึม"[45]
2497/1954 จอห์น แฟรงคลิน เอนเดอรส์
(John Franklin Enders)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบความสามารถของไวรัสโรคโปลิโอที่สามารถเติบโตในการเพาะเลี้ยงในเนื้อเยื่อหลายชนิด"[46]
โทมัส ฮักเคิล เวลเลอร์
(Thomas Huckle Weller)
  สหรัฐ
เฟรเดอริก แชปแมน รอบบินส์
(Frederick Chapman Robbins)
  สหรัฐ
2498/1955 แอกเซล ฮูโก ธีโอดอร์ ธีโอเรลล์
(Axel Hugo Theodor Theorell)
  สวีเดน "สำหรับการค้นพบธรรมชาติและหน้าที่การทำงานของเอนไซม์ในกระบวนการออกซิเดชัน"[47]
2499/1956 อ็องเดร เฟรเดริก กูร์น็อง
(André Frédéric Cournand)
  ฝรั่งเศส, ค.ศ. 1941
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบการใส่หลอดสวนหัวใจ (heart catheterization) และการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาของระบบไหลเวียนโลหิต"[48]
แวร์เนอร์ ฟอร์สมัน
(Werner Forssmann)
  เยอรมนีตะวันตก
ดิคคินสัน ริชาร์ด
(Dickinson W. Richards)
  สหรัฐ
2500/1957 ดาเนียล บอแว
(Daniel Bovet)
  สวิตเซอร์แลนด์
  อิตาลี
"สำหรับการค้นพบสารสังเคราะห์ที่ยับยั้งการทำงานของสารในร่างกายบางชนิด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งมีบทบาทกับระบบหลอดเลือดและระบบโครงกระดูก"[49]
2501/1958 จอร์จ เวลลส์ บีเดิล
(George Wells Beadle)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบของท่านว่ายีนทำงานโดยการควบคุมปรากฏการณ์ทางเคมีจำเพาะ"[50]
เอ็ดเวิร์ด ลอว์รี ทาทัม
(Edward Lawrie Tatum)
  สหรัฐ
โจชัว ลีเดอร์เบิร์ก
(Joshua Lederberg)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบการแลกเปลี่ยนยีน (genetic recombination) และการเรียงตัวของสารพันธุกรรมของแบคทีเรีย"[50]
2502/1959 เซเบโร โอโชอา
(Severo Ochoa)
  สเปน ค.ศ. 1939
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบกลไกการสังเคราะห์ทางชีวภาพของกรดไรโบนิวคลีอิกและกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก"[51]
อาเธอร์ คอร์นเบิร์ก
(Arthur Kornberg)
  สหรัฐ
2503/1960 เซอร์แฟรงค์ แมคฟาร์เลน เบอร์เน็ท
(Sir Frank Macfarlane Burnet)
  ออสเตรเลีย
  สหราชอาณาจักร
"สำหรับการค้นพบความต้านทานทางภูมิคุ้มกันที่ได้รับมา (acquired immunological tolerance) "[52]
ปีเตอร์ ไบรอัน เมดาวาร์
(Peter Brian Medawar)
  บราซิล
  สหราชอาณาจักร
2504/1961 จอร์จ ฟอน เบเคซี
(Georg von Békésy)
  ฮังการี "สำหรับการค้นพบกลไกทางกายภาพของการกระตุ้นภายในคอเคลีย (cochlea) "[53]
2505/1962 ฟรานซิส แฮร์รี คอมป์ตัน คริก
(Francis Harry Compton Crick)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบเกี่ยวกับโครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลิอิกและความสำคัญของมันในการถ่ายทอดข้อมูลสำคัญในสิ่งมีชีวิต"[54]
เจมส์ ดิวอี วัตสัน
(James Dewey Watson)
  สหรัฐ
มอริส ฮิว เฟรเดอริก วิลคินส์
(Maurice Hugh Frederick Wilkins)
  นิวซีแลนด์
  สหราชอาณาจักร
2506/1963 เซอร์จอห์น คาริว เอคเคิลส์
(Sir John Carew Eccles)
  ออสเตรเลีย "สำหรับการค้นพบกลไกของไอออนเกี่ยวกับการกระตุ้นและการยับยั้งในส่วนนอกและส่วนกลางของเยื่อหุ้มเซลล์ของเส้นประสาท"[55]
อลัน ลอยด์ ฮอดจ์กิน
(Alan Lloyd Hodgkin)
  สหราชอาณาจักร
แอนดรูว์ ฮักซ์เลย์
(Andrew Fielding Huxley)
  สหราชอาณาจักร
2507/1964 ค็อนราท เอมีล บล็อค
(Konrad Emil Bloch)
  เยอรมนีตะวันตก
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบกลไกและการควบคุมคอเลสเตอรอลและเมแทบอลิซึมของกรดไขมัน"[56]
เฟโอดอร์ ลือเนิน
(Feodor Lynen)
  เยอรมนีตะวันตก
2508/1963 ฟร็องซัว ฌากอบ
(François Jacob)
  ฝรั่งเศส "สำหรับการค้นพบการควบคุมพันธุกรรมของเอนไซม์และการสังเคราะห์ไวรัส"[57]
อ็องเดร มีแชล ลว็อฟ
(André Michel Lwoff)
  ฝรั่งเศส
ฌัก มอนอด
(Jacques Monod)
  ฝรั่งเศส
2509/1966 เพย์ตัน เราส์
(Peyton Rous)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบไวรัสที่ชักนำให้เกิดเนื้องอก"[58]
ชาร์ลส์ บี. ฮักกินส์
(Charles B. Huggins)
  แคนาดา
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากโดยใช้ฮอร์โมน"[58]
2510/1967 แรกญา กรานีท
(Ragnar Granit)
  ฟินแลนด์ ค.ศ. 1940
  สวีเดน
"สำหรับการค้นพบกระบวนการรับภาพทางกายภาพและเคมีขั้นปฐมภูมิในตา"[59]
ฮัลเดน เคฟเฟอร์ ฮาร์ทไลน์
(Haldan Keffer Hartline)
  สหรัฐ
จอร์จ วอลด์
(George Wald)
  สหรัฐ
2511/1968 รอเบิร์ต ดับเบิลยู. ฮอลลีย์
(Robert W. Holley)
  สหรัฐ "สำหรับการแปลรหัสพันธุกรรมและหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน"[60]
หร โคพินท์ โขรานา
(Har Gobind Khorana)
  อินเดีย
  สหรัฐ
มาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์ก
(Marshall W. Nirenberg)
  สหรัฐ
2512/1969 มัคส์ เด็ลบรึค
(Max Delbrück)
  เยอรมนีตะวันตก
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบกลไกการถ่ายแบบดีเอ็นเอและโครงสร้างทางพันธุศาสตร์ของไวรัส"[61]
อัลเฟรด เฮอร์ชีย์
(Alfred Hershey)
  สหรัฐ
ซัลวาดอร์ เอ. ลูเรีย
(Salvador E. Luria)
  อิตาลี
2513/1970 เซอร์แบร์นาร์ท คัทซ์
(Sir Bernard Katz)
  เยอรมนี ค.ศ. 1941
  สหราชอาณาจักร
"สำหรับการค้นพบสารฮอร์โมนที่ปล่อยจากในปลายประสาท และกลไกของการเก็บ การปล่อย และการหยุดการกระตุ้นการทำงาน"[62]
อูลฟ์ วอน ออยเลอร์
(Ulf von Euler)
  สวีเดน
จูเลียส แอเซลรอด
(Julius Axelrod)
  สหรัฐ
2514/1970 เอิร์ล ดับเบิลยู. ซูเทอร์เลนด์ จูเนียร์
(Earl W. Sutherland, Jr.)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบกลไกการทำงานของฮอร์โมน"[63]
2515/1972 เจอรัลด์ เอ็ม. เอเดลแมน
(Gerald M. Edelman)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบโครงสร้างทางเคมีของแอนติบอดี"[64]
รอดนีย์ อาร์ พอร์เตอร์
(Rodney R. Porter)
  สหราชอาณาจักร
2516/1973 คาร์ล ฟ็อน ฟริช
(Karl von Frisch)
  ออสเตรีย "สำหรับการค้นพบโครงสร้างและการแสดง (elicitation) แบบแผนพฤติกรรมในแต่ละตัวและในสังคม"[65]
ค็อนราท โลเร็นทซ์
(Konrad Lorenz)
  ออสเตรีย
นีโกลาส ตินแบร์เคิน
(Nikolaas Tinbergen)
  เนเธอร์แลนด์
2517/1974 อาลแบร์ โกลด
(Albert Claude)
  เบลเยียม "สำหรับการค้นพบโครงสร้างและหน้าที่ของโครงสร้างในเซลล์"[66]
คริสตีย็อง เดอ ดูฟว์
(Christian de Duve)
  เบลเยียม
จอร์จ อี. พาเลด
(George E. Palade)
  โรมาเนีย ค.ศ. 1952
  สหรัฐ
2518/1975 เดวิด บัลติมอร์
(David Baltimore)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบปฏิสัมพันธ์ระหว่างไวรัสที่ก่อให้เกิดเนื้องอกและสารพันธุกรรมภายในเซลล์"[67]
เรนาโต ดุลเบกโก
(Renato Dulbecco)
  อิตาลี
  สหรัฐ
โฮเวิร์ด มาร์ติน เทมิน
(Howard Martin Temin)
  สหรัฐ

พ.ศ. 2519 – พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 1976–2000) แก้

ปี พ.ศ./ค.ศ. ชื่อ ประเทศ หัวข้อ
2519/1976 บารุค เอส. บลุมเบิร์ก
(Baruch S. Blumberg)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบกลไกใหม่ของจุดกำเนิดและการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ"[68]
แดเนียล คาร์เลตัน กาชดูเซค
(Daniel Carleton Gajdusek)
  สหรัฐ
2520/1977 รอเฌ กีย์แม็ง
(Roger Guillemin)
  ฝรั่งเศส ค.ศ. 1965
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบการผลิตเปปไทด์ฮอร์โมนของสมอง"[69]
แอนดรูว์ วิคเตอร์ ชัลลี
(Andrew Viktor Schally)
  สหรัฐ
โรซาลิน ยาโลว์
(Rosalyn Yalow)
  สหรัฐ "สำหรับการพัฒนาเทคนิค radioimmunoassay ของเปปไทด์ฮอร์โมน"[69]
2521/1978 แวร์เนอร์ อาร์เบอร์
(Werner Arber)
  สวิตเซอร์แลนด์ "สำหรับการค้นพบเอนไซม์ตัดจำเพาะ และการประยุกต์ใช้ในด้านอณูพันธุศาสตร์"[70]
แดเนียล นาธานส์
(Daniel Nathans)
  สหรัฐ
ฮามิลตัน โอ. สมิธ
(Hamilton O. Smith)
  สหรัฐ
2522/1979 อัลแลน เอ็ม. คอร์แมค
(Allan M. Cormack)
  แอฟริกาใต้ ค.ศ. 1966
  สหรัฐ
"สำหรับการพัฒนาการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์"[71]
กอดฟรีย์ เอ็น. เฮาวน์ฟิลด์
(Godfrey N. Hounsfield)
  สหราชอาณาจักร
2523/1980 บารุค เบนาเซอร์รัฟ
(Baruj Benacerraf)
  เวเนซุเอลา ค.ศ. 1943
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบโครงสร้างบนผิวเซลล์ที่ควบคุมโดยพันธุกรรม ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกัน"[72]
ฌ็อง โดแซ
(Jean Dausset)
  ฝรั่งเศส
จอร์จ ดี. สเนลล์
(George D. Snell)
  สหรัฐ
2524/1981 โรเจอร์ ดับเบิลยู. สเปอร์รี
(Roger W. Sperry)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบหน้าที่จำเพาะของซีรีบรัล เฮมิสเฟียร์"[73]
เดวิด เอช. ฮูเบิล
(David H. Hubel)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบการประมวลผลข้อมูลในระบบการมองเห็น"[73]
ทอร์สเทน เอ็น. วีเซล
(Torsten N. Wiesel)
  สวีเดน
2525/1982 ซือเนอ แบร์ยสเตริม
(Sune Bergström)
  สวีเดน "สำหรับการค้นพบพรอสตาแกลนดินและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่เกี่ยวข้อง"[74]
เบ็งต์ อี. ซอมูเอิลซ็อน
(Bengt I. Samuelsson)
  สวีเดน
จอห์น อาร์. เวน
(John R. Vane)
  สหราชอาณาจักร
2526/1983 บาร์บารา แมคคลินทอค
(Barbara McClintock)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบสารพันธุกรรมที่เคลื่อนที่ได้"[75]
2527/1984 นิลส์ ไค แยร์เนอ
(Niels Kaj Jerne)
  เดนมาร์ก "สำหรับการค้นพบความจำเพาะของพัฒนาการและการควบคุมของระบบภูมิคุ้มกัน และการค้นพบหลักการผลิตโมโนโคลนัล แอนติบอดี (monoclonal antibodies)"[76]
ฌอร์ฌ ย็อท. เอ็ฟ. เคอเลอร์
(Georges J.F. Köhler)
  เยอรมนีตะวันตก
เซซาร์ มิลสไตน์
(César Milstein)
  อาร์เจนตินา
  สหราชอาณาจักร
2528/1985 ไมเคิล เอส. บราวน์
(Michael S. Brown)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบการควบคุมเมแทบอลิซึมของโคเลสเตอรอล"[77]
โจเซฟ แอล. โกลด์ชไตน์
(Joseph L. Goldstein)
  สหรัฐ
2529/1986 สแตนลีย์ โคเฮน
(Stanley Cohen)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบโกรท แฟคเตอร์"[78]
รีตา เลวี-มอนตัลชีนี
(Rita Levi-Montalcini)
  อิตาลี
  สหรัฐ
2530/1987 ซูซูมุ โทเนงาวะ
(Susumu Tonegawa)
  ญี่ปุ่น "สำหรับการค้นพบหลักการทางพันธุศาสตร์ในการสร้างความหลากหลายของแอนติบอดี"[79]
2531/1988 เซอร์เจมส์ ดับเบิลยู. แบล็ก
(Sir James W. Black)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบหลักการสำคัญของการรักษาด้วยยา"[80]
เจอร์ทรูด บี. เอลเลียน
(Gertrude B. Elion)
  สหรัฐ
จอร์จ เอช. ฮิทชิงส์
(George H. Hitchings)
  สหรัฐ
2532/1989 เจ. ไมเคิล บิชอป
(J. Michael Bishop)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบต้นกำเนิดของยีนก่อมะเร็งจากรีโทรไวรัส"[81]
ฮาโรลด์ อี. วาร์มุส
(Harold E. Varmus)
  สหรัฐ
2533/1990 โจเซฟ อี. เมอร์เรย์
(Joseph E. Murray)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบการปลูกถ่ายอวัยวะและเซลล์เพื่อการรักษาโรคในมนุษย์"[82]
อี. ดอนนัลล์ โธมัส
(E. Donnall Thomas)
  สหรัฐ
2534/1991 แอร์วีน เนเออร์
(Erwin Neher)
  เยอรมนี "สำหรับการค้นพบหน้าที่ของช่องไอออน (ion channel) ภายในเซลล์"[83]
แบร์ท ซัคมัน
(Bert Sakmann)
  เยอรมนี
2535/1992 เอ็ดมอนด์ เอช. ฟิสเชอร์
(Edmond H. Fischer)
  สวิตเซอร์แลนด์
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชันของโปรตีนแบบผันกลับได้ ในฐานะเป็นกลไกการควบคุมทางชีวภาพ"[84]
เอ็ดวิน จี. เครบส์
(Edwin G. Krebs)
  สหรัฐ
2536/1993 ริชาร์ด เจ. โรเบิร์ตส์
(Richard J. Roberts)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบ split genes"[85]
ฟิลิป เอ. ชาร์ป
(Phillip A. Sharp)
  สหรัฐ
2537/1994 อัลเฟรด จี. กิลแมน
(Alfred G. Gilman)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบจี-โปรตีน และบทบาทของโปรตีนในการแปรสัญญาณ (signal transduction) ภายในเซลล์"[86]
มาร์ติน รอดเบลล์
(Martin Rodbell)
  สหรัฐ
2538/1995 เอ็ดเวิร์ด บี. ลิวอิส
(Edward B. Lewis)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบการควบคุมทางพันธุกรรมของการเจริญของเอ็มบริโอในระยะเริ่มต้น"[87]
คริสทีอาเนอ นึสไลน์-ฟ็อลฮาร์ท
(Christiane Nüsslein-Volhard)
  เยอรมนี
อีริค เอฟ. ไวส์ชาวส์
(Eric F. Wieschaus)
  สหรัฐ
2539/1996 ปีเตอร์ โดเฮอร์ที
(Peter Doherty)
  ออสเตรเลีย "สำหรับการค้นพบความจำเพาะของระบบภูมิคุ้มกันชนิดอาศัยเซลล์"[88]
ร็อล์ฟ เอ็ม. ซิงเคอร์นาเกิล
(Rolf M. Zinkernagel)
  สวิตเซอร์แลนด์
2540/1997 สแตนลีย์ บี. พรุสซิเนอร์
(Stanley B. Prusiner)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบพรีออน - หลักการใหม่ทางชีวภาพของการติดเชื้อ[89]
2541/1998 โรเบิร์ท เอฟ. เฟอร์ชกอทท์
(Robert F. Furchgott)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบไนตริกออกไซด์ในบทบาทโมเลกุลสัญญาณในระบบไหลเวียนโลหิต"[90]
หลุยส์ เจ. อิญาร์โร
(Louis J. Ignarro)
  สหรัฐ
เฟอริด มูราด
(Ferid Murad)
  สหรัฐ
2542/1999 กึนเทอร์ โบลเบิล
(Günter Blobel)
  เยอรมนี ค.ศ. 1987
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบว่าโปรตีนมีสัญญาณภายในที่ควบคุมการขนส่งตัวเองและตำแหน่งภายในเซลล์"[91]
2543/2000 อาร์วิด คาร์ลสัน
(Arvid Carlsson)
  สวีเดน "สำหรับการค้นพบการแปรสัญญาณในระบบประสาท"[92]
พอล กรีนการ์ด
(Paul Greengard)
  สหรัฐ
อีริค อาร์. แคนเดล
(Eric R. Kandel)
  สหรัฐ

พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน (ค.ศ. 2001 – ปัจจุบัน) แก้

ปี พ.ศ./ค.ศ. ชื่อ ประเทศ หัวข้อ
2544/2001 ลีแลนด์ เอช. ฮาร์ทเวลล์
(Leland H. Hartwell)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบตัวควบคุมหลักของวัฏจักรเซลล์"[93]
  อาร์ ทิโมธี ฮันท์
(R. Timothy Hunt)
  สหราชอาณาจักร
  เซอร์พอล เอ็ม. เนิร์ส
(Sir Paul M. Nurse)
  สหราชอาณาจักร
2545/2002 ซิดนีย์ เบรนเนอร์
(Sydney Brenner)
  แอฟริกาใต้
  สหราชอาณาจักร ค.ศ. 2003
  สิงคโปร์[94] (กิตติมศักดิ์)
"สำหรับการค้นพบ 'การควบคุมทางพันธุกรรมของพัฒนาการของอวัยวะและการตายของเซลล์ชนิดตั้งโปรแกรมไว้'"[95]
เอช. โรเบิร์ต ฮอร์วิทซ์
(H. Robert Horvitz)
  สหรัฐ
  จอห์น อี. ซุลสตัน
(John E. Sulston)
  สหราชอาณาจักร
2546/2003   พอล ลอเทอร์เบอร์
(Paul Lauterbur)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก"[96]
  เซอร์ปีเตอร์ แมนสฟิลด์
(Sir Peter Mansfield)
  สหราชอาณาจักร
2547/2004   ริชาร์ด แอกเซล (Richard Axel)   สหรัฐ "สำหรับการค้นพบตัวรับกลิ่นและการเรียงตัวของระบบรู้กลิ่น"[97]
  ลินดา บี. บัค
(Linda B. Buck)
  สหรัฐ
2548/2005   แบร์รี เจ. มาร์แชลล์
(Barry J. Marshall)
  ออสเตรเลีย "สำหรับการค้นพบแบคทีเรีย Helicobacter pylori และบทบาทของมันในการก่อโรคกระเพาะอักเสบและโรคแผลเปื่อยเพปติก"[98]
  เจ. โรบิน วอร์เรน
(J. Robin Warren)
  ออสเตรเลีย
2549/2006   แอนดรูว์ เซด. ไฟร์
(Andrew Z. Fire)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบ RNA interference - การยับยั้งการแสดงออกของยีนโดยอาร์เอ็นเอสายคู่"[99]
เครก ซี. เมลโล
(Craig C. Mello)
  สหรัฐ
2550/2007   มารีโอ กาเปกกี
(Mario Capecchi)
  อิตาลี
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบการชักนำการปรับแต่งยีนที่จำเพาะในหนู โดยใช้สเต็มเซลล์จากเอ็มบริโอ (embryonic stem cells)"[100]
  เซอร์มาร์ติน อีวานส์
(Sir Martin Evans)
  สหราชอาณาจักร
  โอลิเวอร์ สมิธีส์
(Oliver Smithies)
  สหราชอาณาจักร
  สหรัฐ
2551/2008   ฮารัลท์ ซัวร์ เฮาเซิน
(Harald zur Hausen)
  เยอรมนี "สำหรับการค้นพบไวรัส human papilloma virus ซึ่งก่อโรคมะเร็งปากมดลูก"[101]
  ฟร็องซวซ บาเร-ซีนูซี
(Françoise Barré-Sinoussi)
  ฝรั่งเศส "สำหรับการค้นพบไวรัสเอชไอวี (human immunodeficiency virus)"[101]
  ลุก มงตาญีเย
(Luc Montagnier)
  ฝรั่งเศส
2552/2009   เอลิซาเบ็ธ เอช. แบล็กเบิร์น
(Elizabeth H. Blackburn)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบว่าโครโมโซมถูกปกป้องด้วยเทโลเมียร์ (telomeres) และเอนไซม์เทโลเมอเรส (telomerase)"[102]
  แครอล ดับเบิลยู. ไกรเดอร์
(Carol W. Greider)
  สหรัฐ
  แจ็ค ดับเบิลยู. โซสตาก
(Jack W. Szostak)
  สหรัฐ
2553/2010 โรเบิร์ต จี. เอ็ดเวิร์ดส์
(Robert G. Edwards)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการพัฒนาการปฏิสนธินอกร่างกาย"[103]
2554/2011   บรูซ เอ. บีทเลอร์
(Bruce A. Beatler)
  สหรัฐ "การค้นพบเกี่ยวกับการกระตุ้นภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด (innate immunity)"[104]
  ฌูล อา. อ็อฟมาน
(Jules A. Hoffmann)
  ลักเซมเบิร์ก (เกิด)
  ฝรั่งเศส (สัญชาติ)
ราล์ฟ เอ็ม. สไตน์มาน
(Ralph M. Steinman)
  แคนาดา (เกิด)
  สหรัฐ (สถาบันที่สังกัด)
"การค้นพบเซลล์เดนไดรติก (dendritic cell) และบทบาทของเซลล์ดังกล่าวต่อภูมิคุ้มกันแบบปรับตัว (adaptive immunity)"[105]
2555/2012   จอห์น บี. เกอร์ดอน
(John B. Gurdon)
  สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบว่าเซลล์ที่เจริญเต็มที่สามารถมีศักยภาพที่จะกลับมาพัฒนาเป็นเซลล์ชนิดอื่นๆ ได้"[106]
  ชินยะ ยามานากะ
(Shinya Yamanaka)
  ญี่ปุ่น
2556/2013 เจมส์ อี. รอธแมน
(James E. Rothman)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบกลไกควบคุมการขนส่งสารของเวสิเคิล อันเป็นระบบขนส่งหลักในเซลล์ของเรา"[107]
  แรนดี ดับเบิลยู. เช็กแมน
(Randy W. Schekman)
  สหรัฐ
โทมัส เซ. ซืทโฮฟ
(Thomas C. Südhof)
  สหรัฐ
  เยอรมนี
2557/2014   จอห์น โอคีฟ
(John O'Keefe)
  สหรัฐ /   สหราชอาณาจักร "สำหรับการค้นพบเซลล์ซึ่งประกอบกันเป็นระบบระบุตำแหน่งในสมอง"[108]
  เมย์-บริตต์ โมเซอร์
(May-Britt Moser)
  นอร์เวย์
  เอ็ดวาร์ด โมเซอร์
(Edvard Moser)
  นอร์เวย์
2558/2015   วิลเลียม ซี. แคมป์เบลล์
(William C. Campbell)
  ไอร์แลนด์
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบเซลล์ซึ่งประกอบกันเป็นระบบระบุตำแหน่งในสมอง" "สำหรับการค้นพบสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการรักษาวิธีใหม่ ต้านอาการติดเชื้อจากกลุ่มพยาธิหนอนตัวกลม"[109]
  ซาโตชิ โอมูระ
(Satoshi Ōmura, 大村智)
  ญี่ปุ่น
  ถู โยวโยว
(Youyou Tu, 屠呦呦)
  จีน "สำหรับการค้นพบสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการรักษาวิธีใหม่ต้านมาลาเรีย"[109]
2559/2016   โยชิโนริ โอซูมิ
(Ōsumi Yoshinori, 大隅 良典)
  ญี่ปุ่น "สำหรับการค้นพบกลไกของออโตฟาจี"[110]
2560/2017 เจฟฟรีย์ ซี ฮอลล์
(Jeffrey C. Hall)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบกลไกระดับโมเลกุลที่ควบคุมระบบนาฬิกาชีวิต (circadian rhythm)"[111]ُ
ไมเคิล รอสแบช
(Michael Rosbash)
  สหรัฐ
  ไมเคิล ดับเบิลยู ยัง
(Michael W. Young)
  สหรัฐ
2561/2018   เจมส์ พี. แอลลิสัน
(James P. Allison)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบการบำบัดมะเร็งด้วยการยับยั้งการควบคุมภูมิคุ้มกันเชิงลบ"[112]
  ฮนโจ ทาซูกุ
(Honjō Tasuku)
  ญี่ปุ่น
2562/2019   วิลเลียม เคลิน จูเนียร์
(William Kaelin Jr.)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบว่าเซลล์รับรู้และปรับตัวเข้ากับระดับออกซิเจนที่มีอย่างไร"[113]
  ปีเตอร์ เจ. แรตคลิฟฟ์
(Peter J. Ratcliffe)
  สหราชอาณาจักร
เกร็ก แอล. เซเมนซา
(Gregg L. Semenza)
  สหรัฐ
2563/2020   ฮาร์วีย์ เจ. ออลเทอร์
(Harvey J. Alter)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบไวรัสตับอักเสบซี"[114]
  ไมเคิล ฮอว์ทัน
(Michael Houghton)
  สหราชอาณาจักร
  ชาลส์ เอ็ม. ไรซ์
(Charles M. Rice)
  สหรัฐ
2564/2021   เดวิด จูเลียส
(David Julius)
  สหรัฐ "สำหรับการค้นพบตัวรับอุณหภูมิและการสัมผัส"[115]
อาร์เด็ม พาตาพูเทียน
(Ardem Patapoutian)
  เลบานอน
2565/2022   สวันเตอ แพบู
(Svante Pääbo)
  สวีเดน "สำหรับการค้นพบเกี่ยวกับจีโนมของโฮมินินที่สูญพันธุ์และวิวัฒนาการของมนุษย์"[116]
2566/2023   กอตอลิน กอริโก
(Katalin Karikó)
  ฮังการี
  สหรัฐ
"สำหรับการค้นพบเกี่ยวกับการดัดแปรเบสนิวคลีโอไซด์ ซึ่งช่วยในการพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอที่มีประสิทธิภาพ"[117]
  ดรูว์ ไวส์แมน
(Drew Weissman)
  สหรัฐ

อ้างอิง แก้

  1. "The Nobel Prize amounts". The Nobel Prize. สืบค้นเมื่อ 29 September 2023.
  2. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1901". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  3. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1902". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  4. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1903". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  5. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1904". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  6. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1905". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  7. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1906". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  8. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1907". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  9. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1908". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  10. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1909". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  11. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1910". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  12. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1911". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  13. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1912". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  14. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1913". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  15. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1914". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  16. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1919". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  17. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1920". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  18. 18.0 18.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1922". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  19. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1923". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  20. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1924". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  21. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1926". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  22. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1927". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  23. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1928". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  24. 24.0 24.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1929". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  25. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1930". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  26. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1931". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  27. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1932". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  28. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1933". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  29. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1934". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  30. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1935". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  31. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1936". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  32. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1937". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  33. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1938". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  34. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1939". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  35. 35.0 35.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1943". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  36. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1944". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  37. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1945". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  38. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1946". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  39. 39.0 39.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1947". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  40. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1948". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  41. 41.0 41.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1949". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  42. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1950". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  43. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1951". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  44. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1952". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  45. 45.0 45.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1953". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  46. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1954". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  47. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1955". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  48. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1956". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  49. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1957". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  50. 50.0 50.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1958". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  51. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1959". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  52. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1960". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  53. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1961". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  54. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1962". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  55. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1963". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  56. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1964". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  57. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1965". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  58. 58.0 58.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1966". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  59. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1967". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  60. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1968". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  61. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1969". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  62. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1970". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  63. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1971". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  64. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1972". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  65. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1973". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  66. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1974". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  67. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1975". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  68. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1976". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  69. 69.0 69.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1977". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  70. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1978". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  71. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1979". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  72. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1980". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  73. 73.0 73.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1981". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  74. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1982". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  75. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1983". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  76. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1984". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  77. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1985". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  78. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1986". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  79. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1987". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  80. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1988". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  81. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1989". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  82. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1990". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  83. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1991". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  84. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1992". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  85. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1993". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  86. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1994". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  87. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1995". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  88. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1996". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  89. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1997". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  90. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1998". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  91. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1999". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  92. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2000". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  93. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2001". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  94. "Sydney Brenner, PhD: Biography". 2005 IEEE Computational Systems Bioinformatics Conference. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2007-08-14.
  95. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2002". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  96. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2003". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  97. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2004". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  98. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2005". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  99. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2006". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-07-28.
  100. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2007". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2007-10-08.
  101. 101.0 101.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2008". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-10-06.
  102. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2009". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2009-10-05.
  103. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2010". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2010-10-04.
  104. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2011". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2011-10-03.
  105. "Ralph M. Steinman - Facts - Nobelprize.org". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2011-10-08.
  106. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2012". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2012-10-08.
  107. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2013". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2013-10-07.
  108. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2014". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2014-10-06.
  109. 109.0 109.1 "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2015". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  110. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2016". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 8 ตุลาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  111. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2017". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2 October 2017.
  112. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2018". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2018-10-01.
  113. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2019". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2019-10-07.
  114. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2020". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2020-10-05.
  115. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2021". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2021-10-04.
  116. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2022". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2022-10-03.
  117. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2023". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2023-10-02.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้