พ.ศ. 2519
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1976)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
พุทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีมะโรง อัฐศก จุลศักราช 1338 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2519 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1976 MCMLXXVI |
Ab urbe condita | 2729 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1425 ԹՎ ՌՆԻԵ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6726 |
ปฏิทินบาไฮ | 132–133 |
ปฏิทินเบงกอล | 1383 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2926 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 24 Eliz. 2 – 25 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2520 |
ปฏิทินพม่า | 1338 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7484–7485 |
ปฏิทินจีน | 乙卯年 (เถาะธาตุไม้) 4672 หรือ 4612 — ถึง — 丙辰年 (มะโรงธาตุไฟ) 4673 หรือ 4613 |
ปฏิทินคอปติก | 1692–1693 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3142 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1968–1969 |
ปฏิทินฮีบรู | 5736–5737 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2032–2033 |
- ศกสมวัต | 1898–1899 |
- กลียุค | 5077–5078 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11976 |
ปฏิทินอิกโบ | 976–977 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1354–1355 |
ปฏิทินอิสลาม | 1395–1397 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 51 (昭和51年) |
ปฏิทินจูเช | 65 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4309 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 65 民國65年 |
เวลายูนิกซ์ | 189302400–220924799 |
ผู้นำประเทศไทย
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี
เหตุการณ์
แก้- 14 มีนาคม - ทีมฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโกชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 10 ณ ประเทศเอธิโอเปีย
- 24 มีนาคม - กำลังทหารของอาร์เจนตินาก่อรัฐประหาร ขับประธานาธิบดีอิสซาเบล เปรอง ออกจากตำแหน่ง
- 4 เมษายน - เขมรแดงจับกุมและบังคับให้เจ้านโรดม สีหนุพ้นจากราชสมบัติ
- 13 มิถุนายน - ทีมฟุตบอลทีมชาติอิหร่านชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย ครั้งที่ 6 ณ กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน
- 22 มิถุนายน - สภาผู้แทนราษฎรแคนาดาลงมติยกเลิกโทษประหารชีวิต
- 27 มิถุนายน - สมาชิกแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์จี้เครื่องบินโดยสารแอร์ฟรานซ์ให้ไปที่ยูกันดา แต่ทางอิสราเอลเข้าช่วยเหลือผู้โดยสารสำเร็จ
- 2 กรกฎาคม - เวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ ผนวกกันเป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
- 3 กรกฎาคม - หน่วยคอมมานโดของประเทศอิสราเอลบุกเข้าช่วยเหลือตัวประกันทั้ง 105 คนที่ถูกจับกุมตัวไว้ที่ประเทศยูกันดา
- 20 กรกฎาคม - ยานไวกิง 1 เป็นยานอวกาศลำแรกที่ประสบความสำเร็จ ในการลงจอดบนพื้นผิวดาวอังคาร
- 28 กรกฎาคม
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8-8.2 ใน เมืองต่งซาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 242,769 คน บาดเจ็บ 164,851 คน
- 31 กรกฎาคม - องค์การนาซาเผยแพร่ภาพ ใบหน้าบนดาวอังคาร ที่บันทึกโดยยานไวกิง 1
- 3 กันยายน - ยานไวกิง 2 ลงจอดบนดาวอังคารและถ่ายภาพสีของพื้นผิวดาวเคราะห์ดวงนี้ในระยะใกล้เป็นภาพแรก
- 21 กันยายน - สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพเรือช่อง 2 (ททร.2) เริ่มแพร่ภาพออกอากาศ
- 6 ตุลาคม - เหตุการณ์ 6 ตุลา: ตำรวจและกองกำลังติดอาวุธเคลื่อนเข้าปิดล้อมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนักศึกษาและประชาชนหลายพันคนร่วมชุมนุมประท้วงการกลับเข้ามาของจอมพลถนอม กิตติขจร ที่ถูกประชาชนลุกฮือขับไล่ออกจากประเทศเมื่อ 3 ปีก่อน. โดยทางการกล่าวหาว่าผู้ชุมนุมหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ. ตกเย็น คณะทหารนำโดย พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ ประกาศรัฐประหาร ยึดอำนาจรัฐบาลที่มี ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี
- 4 ธันวาคม - ฮะซัน ติโร แถลงคำประกาศเอกราชของอาเจะฮ์เป็นภาษาอาเจะฮ์และภาษาอังกฤษในนามขบวนการอาเจะฮ์เอกราชแต่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐบาลอินโดนีเซีย
วันเกิด
แก้มกราคม
แก้- 7 มกราคม - วิค ดาร์ชิเนียน แชมป์โลกมวยสากลชาวออสเตรเลีย
- 27 มกราคม - หลินซินหยู นักแสดงหญิงชาวไต้หวัน
กุมภาพันธ์
แก้- 1 กุมภาพันธ์ - คาตริน ยาคอปสโตว์ทีร์ นักการเมืองไอซ์แลนด์
- 5 กุมภาพันธ์ - จาพนม ยีรัมย์ นักแสดงผู้เชี่ยวชาญศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว
มีนาคม
แก้- 20 มีนาคม – เชสเตอร์ เบนนิงตัน นักตนตรีชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560)
เมษายน
แก้- 27 เมษายน – สุนทรี ชัยวิรัตนะ นักการเมืองชาวไทย
พฤษภาคม
แก้- 17 พฤษภาคม - หวังลี่หง นักแต่งเพลงชาวไต้หวัน
- 19 พฤษภาคม
- เควิน การ์เน็ตต์ นักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน
- 31 พฤษภาคม – คอลิน ฟาร์เรล นักแสดงชาวอเมริกัน
มิถุนายน
แก้- 2 มิถุนายน - สมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ
- 10 มิถุนายน - เจ้าชายกียอร์ก ฟริดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย
- 21 มิถุนายน - เซเลสติโน คาบัลเลโร แชมป์โลกมวยสากลชาวปานามา
กรกฎาคม
แก้- 1 กรกฎาคม -
- รุด ฟาน นิสเตลรอย นักฟุตบอลชาวเนเธอร์แลนด์
- แพทริก ไคลเวิร์ต นักฟุตบอลชาวเนเธอร์แลนด์
- 16 กรกฎาคม
- ภูธเนศ หงษ์มานพ นักแสดง, พิธีกร และผู้กำกับละครชาวไทย
- 19 กรกฎาคม
- เบนิดิคต์ คัมเบอร์แบชต์ นักแสดงชาวอังกฤษ
สิงหาคม
แก้- 1 สิงหาคม - อิบัน ดูเก มาร์เกซ นักการเมืองและทนายความชาวโคลอมเบีย
- 15 สิงหาคม - อาบีย์ อาห์เม็ด นักการเมืองชาวเอธิโอเปีย
กันยายน
แก้- 6 กันยายน - เจ้าชายโรเบิร์ต เคานต์แห่งลามาร์เค
- 10 กันยายน -
- กุสตาโว เคอร์เทน นักเทนนิสชาวบราซิล
- 22 กันยายน – โรนัลโด นักฟุตบอลชาวบราซิล
ตุลาคม
แก้- 1 ตุลาคม
- 3 ตุลาคม – ฌอนน์ วิลเลียม สกอตต์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 4 ตุลาคม – อลิเซีย ซิลเวอร์สโตน นักแสดงชาวอเมริกัน
- 5 ตุลาคม -
- ซง ซึงฮย็อน นักแสดงชาวเกาหลีใต้
- 17 ตุลาคม - ศจี วงศ์อำไพ พิธีกรและผู้ประกาศข่าวชาวไทย
- 21 ตุลาคม - ออลีแวร์ สปาซอฟสกี นักการเมืองชาวมาซิโดเนีย
พฤศจิกายน
แก้- 1 พฤศจิกายน –
- ออสการ์ ลาริออส แชมป์โลกมวยสากลชาวเม็กซิโก
ธันวาคม
แก้- 16 ธันวาคม - โอซามุ ซาโตะ แชมป์โลกมวยสากลชาวญี่ปุ่น
วันถึงแก่กรรม
แก้- 8 มกราคม - โจว เอินไหล นายกรัฐมนตรีจีนคนแรก (เกิด 5 มีนาคม พ.ศ. 2441)
- 12 มกราคม - อกาทา คริสตี นักประพันธ์ชาวอังกฤษ (เกิด 15 กันยายน พ.ศ. 2433)
- 1 กุมภาพันธ์ - เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิร์ก นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน (เกิด 5 ธันวาคม พ.ศ. 2444)
- 3 มีนาคม - หม่อมเจ้าไกรสิงห์ วุฒิชัย (ประสูติ 29 เมษายน พ.ศ. 2472)
- 26 พฤษภาคม - มาร์ติน ไฮเดกเกอร์ นักปรัชญาชาวเยอรมัน (เกิด 26 กันยายน พ.ศ. 2432)
- 25 มิถุนายน - จอห์นนี่ เมอเซอร์ นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (เกิด 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452)
- 14 กรกฎาคม - ถวิล สุนทรศารทูล รัฐมนตรีชาวไทย (เกิด 15 ธันวาคม พ.ศ. 2450)
- 5 กันยายน - พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (ประสูติ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2434)
- 9 กันยายน - เหมา เจ๋อตง ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีน (เกิด 26 ธันวาคม พ.ศ. 2436)
วัฒนธรรมสมัยนิยมที่อ้างอิงถึงปีนี้
แก้ภาพยนตร์
แก้- โกสท์เกม ล่า-ท้า-ผี – เนื้อเรื่องบางส่วนที่อ้างอิงเหตุการณ์ปฏิวัติเขมรแดงที่เกิดขึ้นในปีนี้
- มหาลัยสยองขวัญ ตอน ลิฟต์แดง (บรรจง สินธนมงคลกุล และสุทธิพร ทับทิม, พ.ศ. 2552)
- River of Exploding Durians (เอ็ดมันด์ โหย่ว, พ.ศ. 2557)[1]
- ดาวคะนอง (อโนชา สุวิชากรพงศ์, พ.ศ. 2559)[1]
รางวัล
แก้รางวัลโนเบล
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 [https: konmongnangetc.com 2016 10 05 %E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%94%E0%B8%96%E0%B8%B6 "รวมรายชื่อหนังที่พูดถึงเหตุการณ์ '6 ตุลา' (แบบคร่าวๆ) และลำดับเวลาออกฉาย"]. คนมองหนัง. 6 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 8 ตุลาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่า|url=
(help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)