พ.ศ. 2481
ปี
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
พุทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2481 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1938 MCMXXXVIII |
Ab urbe condita | 2691 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1387 ԹՎ ՌՅՁԷ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6688 |
ปฏิทินบาไฮ | 94–95 |
ปฏิทินเบงกอล | 1345 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2888 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 2 Geo. 6 – 3 Geo. 6 |
พุทธศักราช | 2482 |
ปฏิทินพม่า | 1300 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7446–7447 |
ปฏิทินจีน | 丁丑年 (ฉลูธาตุไฟ) 4634 หรือ 4574 — ถึง — 戊寅年 (ขาลธาตุดิน) 4635 หรือ 4575 |
ปฏิทินคอปติก | 1654–1655 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3104 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1930–1931 |
ปฏิทินฮีบรู | 5698–5699 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1994–1995 |
- ศกสมวัต | 1860–1861 |
- กลียุค | 5039–5040 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11938 |
ปฏิทินอิกโบ | 938–939 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1316–1317 |
ปฏิทินอิสลาม | 1356–1357 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 13 (昭和13年) |
ปฏิทินจูเช | 27 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4271 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 27 民國27年 |
(หากเป็นการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2481 เริ่มในวันที่ 1 เมษายน)
- ปีขาล สัมฤทธิศก จุลศักราช 1300 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (2 มีนาคม พ.ศ. 2477 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
- เจ้านครประเทศราช (นครเชียงใหม่): เจ้าแก้วนวรัฐ (2452-2482)
- เจ้านครประเทศราช (นครลำพูน): เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (2454-2486)
- นายกรัฐมนตรี: จอมพล แปลก พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481-2487)
เหตุการณ์
แก้- 10 เมษายน - มีการลงคะแนนเสียงในประเทศออสเตรีย ซึ่งปรากฏว่า 99.7% เห็นด้วยในการรวมออสเตรียเข้ากับเยอรมัน
- 16 มีนาคม - อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ประกาศให้ดินแดนโบฮีเมียและโมราเวียอยู่ภายใต้การอารักขาของเยอรมัน
- 18 กันยายน - เริ่มการก่อสร้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไม่ทราบวัน
แก้- หนังสือการ์ตูนเรื่อง ซูเปอร์แมน ได้รับการตีพิมพ์และวางจำหน่ายครั้งแรกในปีนี้
วันเกิด
แก้- 1 มกราคม -
- กว้าง รอบคอบ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา
- เขียวหวาน ยนตรกิจ แชมป์ OPBF ชาวไทยคนที่ 8
- ฟูอาด มะอ์ศูม นักการเมืองชาวอิรักดิช
- อาลี มาห์ดิ มูฮัมหมัด ผู้ประกอบการและนักการเมืองชาวโซมาเลีย
- 2 มกราคม - โรเบิร์ต สมิธสัน ศิลปินชาวอเมริกัน
- 5 มกราคม - สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน อดีตพระมหากษัตริย์แห่งสเปน
- 10 มกราคม -
- จรัญ หัตถกรรม นักกฎหมายชาวไทย ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
- โดนัลด์ คนูธ นักวิทยาการคอมพิวเตอร์และศาสตราจารย์
- 12 มกราคม - สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน
- 14 มกราคม - โมริฮิโระ โฮโซกาวะ นักการเมืองญี่ปุ่น
- 16 มกราคม - อินฟันเตคาลอส ดยุกแห่งกาลาเบรีย (ถึงแก่กรรม 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2558)
- 20 มกราคม - วีระ สุพัฒนกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา
- 21 มกราคม - เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 7 สมัย (ถึงแก่กรรม 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2554)
- 25 มกราคม -
- โชตาโร อิชิโนโมริ นักสร้าง และนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 28 มกราคม พ.ศ. 2541)
- เลอิจิ มัตซึโมโตะ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566)
- วลาดีมีร์ วืยซอตสกี นักร้อง นักแต่งเพลง กวี และนักแสดงชาวโซเวียต (ถึงแก่กรรม 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2523)
- เอตตา เจมส์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 20 มกราคม พ.ศ. 2555)
- 26 มกราคม - สก็อตต์ เกล็นน์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 30 มกราคม - อิสลาม คารีมอฟ นักการเมืองชาวอุซเบก (ถึงแก่กรรม 2 กันยายน พ.ศ. 2559)
- 31 มกราคม - สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์
- 2 กุมภาพันธ์ - มีชัย ฤชุพันธุ์ นักกฎหมายและนักการเมืองชาวไทย
- 4 กุมภาพันธ์ - ฟูมิโอะ ไคซุ แชมป์นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- 5 กุมภาพันธ์ - เอริก แฮร์ริสัน อดีตนักฟุตบอลอาชีพและผู้ฝึกสอนชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562)
- 6 กุมภาพันธ์ - วิชัย วงศ์ไชย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่
- 12 กุมภาพันธ์ - ปีเตอร์ เทมเปิล-มอร์ริส นักการเมืองชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561)
- 16 กุมภาพันธ์ - นูร์ ฮะซัน ฮุเซน นายกรัฐมนตรีโซมาเลีย (ถึงแก่กรรม 1 เมษายน พ.ศ. 2563)
- 21 กุมภาพันธ์ - วิจิตร เกตุแก้ว อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ อดีตข้าราชการกรมพลศึกษา
- 22 กุมภาพันธ์ -
- คาริน ดอร์ นักแสดงชาวเยอรมัน (ถึงแก่กรรม 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560)
- สุประวัติ ปัทมสูต นักแสดงและผู้กำกับลูกครึ่งไทย-โปรตุเกส
- 23 กุมภาพันธ์ - สุวิทย์ ธีรพงษ์ อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
- 26 กุมภาพันธ์ - อ้ายซินเจว๋หลัว ฮุ่ยเซิง เจ้านายจากราชวงศ์ชิง (ถึงแก่กรรม 4 ธันวาคม พ.ศ. 2500)
- 4 มีนาคม - อาลฟา กงเด นักการเมืองของกินี
- 6 มีนาคม - ณัฐ อินทรปาณ อดีตกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย (ถึงแก่กรรม 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561)
- 11 มีนาคม - ปรีดา ทัศนประดิษฐ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์
- 15 มีนาคม - ใหม่ ศิรินวกุล อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 5 สมัย (ถึงแก่กรรม 16 กันยายน พ.ศ. 2536)
- 17 มีนาคม - รูดอล์ฟ นูเรเยฟ นักเต้นบัลเลต์ชาวรัสเซีย (ถึงแก่กรรม 6 มกราคม พ.ศ. 2536)
- 24 มีนาคม - วัฒนา สรรพานิช สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- 30 มีนาคม - โกวิท ภักดีภูมิ สมาชิกวุฒิสภาไทย
- 2 เมษายน - อำพล สิงหโกวินท์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
- 5 เมษายน - แนนซี โฮลต์ ศิลปินคนสำคัญของลัทธิธรณีศิลป์
- 8 เมษายน - โคฟี แอนนัน นักการทูตชาวกานา (ถึงแก่กรรม 18 สิงหาคม พ.ศ. 2561)
- 9 เมษายน - เอตโตเร โรโมลี นักการเมืองชาวอิตาลี (ถึงแก่กรรม 14 มิถุนายน พ.ศ. 2561)
- 12 เมษายน - สุพรชัย เจริญเมือง อดีตนักมวยไทยชาวไทย
- 20 เมษายน -
- จอห์นนี ทิลลอตสัน นักร้องชาวอเมริกัน
- มีศักดิ์ นาครัตน์ นักร้อง นักแสดง และนักแต่งเพลง (ถึงแก่กรรม 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555)
- 22 เมษายน - อิซเซ มิยาเกะ แฟชั่นดีไซเนอร์ชาวญี่ปุ่น
- 23 เมษายน - เกษม จันทร์แก้ว อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี อดีตรองอธิการบดีแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- 25 เมษายน - กมล ทัพคัลไลย นักแต่งคำร้องและทำนองเพลงชาวไทย
- 26 เมษายน - โจวันนี เบนเวนูตี อดีตแชมป์โลกและอดีตนักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิกชาวอิตาลี
- 28 เมษายน - เกอร์ลินเดอ ลอคเกอร์ นักแสดงชาวออสเตรีย
- 29 เมษายน - เบียร์เคอ บรุค นักแสดงโทรทัศน์และภาพยนตร์ชาวเยอรมัน
- 30 เมษายน - มิกาเอลา เคาน์เตสแห่งปารีส
- 2 พฤษภาคม - สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท (สวรรคต 15 มกราคม พ.ศ. 2539)
- 5 พฤษภาคม
- สมัคร ชาลีกุล อดีตสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 จากพรรคแนวร่วมสังคมนิยม เขต 1 จังหวัดชัยภูมิ
- รุ่งทิพย์ ธารทอง นักร้องลูกทุ่งชายชาวไทย (ถึงแก่กรรม 1 มีนาคม พ.ศ. 2563)
- 7 พฤษภาคม - เจ้าชายปากู อาลัมที่ 9 เจ้าชายแห่งราชรัฐปากูอาลามัน (ถึงแก่กรรม 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558)
- 9 พฤษภาคม - อาทิตย์ อุไรรัตน์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร
- 13 พฤษภาคม - จูลีอาโน อามาโต นักการเมืองชาวอิตาลี
- 18 พฤษภาคม - ไมเคิล ร็อกเกอะเฟลเลอร์ บุตรคนที่ 5 และคนสุดท้องของเนลสัน รอกกีเฟลเลอร์ (ถึงแก่กรรม 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504)
- 20 พฤษภาคม - ไรเนอร์ บาเซอโด นักแสดงภาพยนตร์และโทรทัศน์ชาวเยอรมัน
- 21 พฤษภาคม - สุรพงศ์ อำพันวงษ์ นายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทศัลยศาสตร์
- 2 มิถุนายน -
- เจ้าหญิงเดซีเรแห่งสวีเดน เจ้าหญืงแห่งสวีเดน
- ศรีศักร วัลลิโภดม นักวิชาการด้านโบราณคดีและมานุษยวิทยาชาวไทย
- 4 มิถุนายน - อรนุช โอสถานนท์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
- 5 มิถุนายน -
- ผ่องศรี วรนุช นักร้องราชินีลูกทุ่งหญิงไทย
- อามันด์ ดาเลม นักการเมืองชาวเบลเยียม (ถึงแก่กรรม 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561)
- 7 มิถุนายน - โกวเล้ง นักเขียนนวนิยาย (ถึงแก่กรรม 21 กันยายน พ.ศ. 2528)
- 10 มิถุนายน - ปกิต พัฒนกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
- 15 มิถุนายน - สุริยัน ศักดิ์ไธสง อดีตนักเขียนชาวไทย (ถึงแก่กรรม 24 เมษายน พ.ศ. 2547)
- 16 มิถุนายน - จอยซ์ แคโรล โอทส์ นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น บทละคร โคลงกลอน วิพากษ์วรรณกรรม, ศาสตราจารย์ และ บรรณาธิการคนสำคัญชาวอเมริกัน
- 19 มิถุนายน - วาฮู แม็กแดเนียล นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันเชื้อสายช็อกทอว์-ชิกกาซอ (ถึงแก่กรรม 18 เมษายน พ.ศ. 2545)
- 22 มิถุนายน -
- คอนราโด เวก้า นักการเมืองและนักศึกษาศาสตร์ชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 26 ธันวาคม พ.ศ. 2553)
- ฉลอง ภู่สว่าง นักดนตรี นักแต่งเพลงลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 29 กันยายน พ.ศ. 2564)
- 24 มิถุนายน - มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน
- 4 กรกฎาคม - บิล วิเทอส์ นักร้อง-นักแต่งเพลง และนักดนตรีชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 30 มีนาคม พ.ศ. 2563)
- 14 กรกฎาคม - บุญเทียม เขมาภิรัตน์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย
- 20 กรกฎาคม -
- นาตาลี วูด นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524)
- โพธิ์ สุขน้อย นักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทย
- 22 กรกฎาคม - ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
- 23 กรกฎาคม - จิโร ซาวาดะ แชมป์นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- 24 กรกฎาคม - โจเซ่ อัลตาฟินี่ อดีตนักฟุตบอลชาวอิตาลี-บราซิล
- 28 กรกฎาคม -
- ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยคนที่ 20
- ลุยส์ อาราโกเนส นักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอล ชาวสเปน (ถึงแก่กรรม 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557)
- อัลเบร์โต ฟูฆิโมริ ประธานาธิบดีของประเทศเปรู
- 2 สิงหาคม - เฉลิม ม่วงแพรศรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) (ถึงแก่กรรม 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2557)
- 6 สิงหาคม -
- ผัน จันทรปาน อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
- ไอกอร์ ลูเชน็อค คีตกวีชาวเบลารุส (ถึงแก่กรรม 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561)
- 7 สิงหาคม - เวอร์นา บลูม นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 9 มกราคม พ.ศ. 2562)
- 9 สิงหาคม - แลออนิด กุชมา นักการเมืองชาวยูเครน
- 13 สิงหาคม - ลุยส์ เอสตาบา แชมป์โลกมวยสากลชาวเวเนซุเอลา
- 14 สิงหาคม - อุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมัย
- 15 สิงหาคม - บุนยัง วอละจิด เลขาธิการพรรคประชาชนปฏิวัติลาว
- 16 สิงหาคม - อ็อนดราช บ็อลโซ อดีตนักปัญจกีฬาสมัยใหม่ชาวฮังการี
- 17 สิงหาคม - สงบ ทิพย์มณี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมัย (ถึงแก่กรรม 31 มกราคม พ.ศ. 2562)
- 21 สิงหาคม - เคนนี โรเจอส์ นักร้องชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 20 มีนาคม พ.ศ. 2563)
- 28 สิงหาคม -
- ชลอ เกิดเทศ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย
- พอล มาร์ติน อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งแคนาดา
- 2 กันยายน - จิมมี แคลนตัน นักร้องชาวอเมริกัน
- 9 กันยายน - วีรวร สิทธิธรรม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม 5 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครพนม
- 28 กันยายน - เบน อี. คิง นักดนตรีชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 30 เมษายน พ.ศ. 2558)
- 29 กันยายน - วิม โกก นักการเมืองชาวดัตช์ (ถึงแก่กรรม 20 ตุลาคม พ.ศ. 2561)
- 4 ตุลาคม - เกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
- 9 ตุลาคม - ไฮนทซ์ ฟิชเชอร์ นักการเมืองชาวออสเตรีย
- 14 ตุลาคม - จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน
- 15 ตุลาคม - เฟล่า คูติ นักร้อง, นักดนตรี, นักแต่งเพลง และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวไนจีเรีย (ถึงแก่กรรม 2 สิงหาคม พ.ศ. 2540)
- 16 ตุลาคม - เก่งกาจ จงใจพระ ดาราภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ นักจัดรายการวิทยุ นักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย
- 18 ตุลาคม - สมศักดิ์ ชัยสงคราม อดีตนักแสดงชาวไทย (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2551)
- 19 ตุลาคม - พระสุนทรธรรมประพุทธ์ (เกษร ฐานิสฺสโร) พระภิกษุในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์
- 21 ตุลาคม - เฮเลน (นักแสดง) นักแสดงภาพยนตร์และนักเต้นชาวอินเดีย
- 22 ตุลาคม -
- กมลา สุโกศล นักร้องนักธุรกิจชาวไทย
- คริสโตเฟอร์ ลอยด์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- มาริษา อมาตยกุล นักร้องหญิงชาวไทย
- 23 ตุลาคม - เจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ (ถึงแก่กรรม 19 สิงหาคม พ.ศ. 2557)
- 29 ตุลาคม - เอลเลน จอห์นสัน เซอร์ลีฟ ประธานาธิบดีไลบีเรียคนที่ 24
- 1 พฤศจิกายน - อำนวย สุวรรณคีรี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 9 สมัย
- 2 พฤศจิกายน - สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน
- 3 พฤศจิกายน - เจ้าหญิงเฟือง เลียน
- 5 พฤศจิกายน - เซซาร์ ลุยส์ เมโนติ อดีตผู้จัดการทีมทีมชาติอาร์เจนตินา
- 12 พฤศจิกายน -
- เบนจามิน อึมกาปา นักการเมืองแทนซาเนีย
- หม่อมราชวงศ์สุจิตคุณ สารสิน
- 13 พฤศจิกายน - รุ่งเรือง อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- 18 พฤศจิกายน - อาหมัด โอบีดัต นายกรัฐมนตรีจอร์แดน
- 19 พฤศจิกายน - เท็ด เทอร์เนอร์ สื่อมวลชนชาวอเมริกัน
- 4 ธันวาคม - เจ้าหญิงอาน ดัชเชสแห่งกาลาเบรีย
- 6 ธันวาคม - จินตนา สุขสถิตย์ นักร้องเพลงไทยสากล ศิลปินแห่งชาติ
- 7 ธันวาคม - ประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชร นักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรครัฐบุรุษ (ถึงแก่กรรม 9 มกราคม พ.ศ. 2563)
- 9 ธันวาคม - สุชาติ เทียนทอง นักร้องลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 23 มิถุนายน พ.ศ. 2528)
- 11 ธันวาคม -
- เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 6 สมัย
- แมคคอย ไทเนอร์ นักเปียโนแจ๊สชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 6 มีนาคม พ.ศ. 2563)
- 29 ธันวาคม พระอธิการธีระศักดิ์ อภิญาโณ (ชัยชนะ) อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองบุ(วัดใหม่) (ละสังขาร 27 มิถุนายน พ.ศ. 2563)
- 29 ธันวาคม - จอน วอยต์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 30 ธันวาคม - คำรณ ณ ลำพูน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน
- ชุ่ย ผิง นักร้องชาวฮ่องกง
- เปรียบ อิน นักการเมืองชาวกัมพูชา (ถึงแก่กรรม มกราคม พ.ศ. 2507)
- พระครูเมตตาธิการี (นิยม กนฺตจาโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดนาลิกวนาราม (วัดตะเคียนเตี้ย) (ถึงแก่กรรม 19 มกราคม พ.ศ. 2552)
- ยรรยง โอฬาระชิน แผนกวิชาการถ่ายภาพและภาพยนตร์ วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ
- สนอง รักวานิช อดีตเทรนเนอร์มวยไทยและมวยสากล (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2530)
วันถึงแก่กรรม
แก้- 15 กุมภาพันธ์ - สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ 16 เมษายน พ.ศ. 2427)
- 22 มีนาคม - ครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา (เกิด 11 มิถุนายน พ.ศ. 2421)
- 24 พฤษภาคม - เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5 (เกิด 9 ธันวาคม พ.ศ. 2400)
- 10 พฤศจิกายน - มุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2424)
- 25 ธันวาคม - กาเรล ชาเปก นักเขียนชาวเช็ก (เกิด 9 มกราคม พ.ศ. 2433)