อำพล สิงหโกวินท์
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
อำพล สิงหโกวินท์ (เกิด 2 เมษายน พ.ศ. 2481) ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
ประวัติการศึกษา
แก้- รัฐศาสตรบัณฑิต ( เกียรตินิยม ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- M.A. (SOCIOLOGY & ANTHROPOLOGY) มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต สหรัฐอเมริกา
- วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ( รุ่นที่ 31)
ประวัติการรับราชการ
แก้- อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2510 ถึง 2513)
- รองเลขาธิการสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (พ.ศ. 2528 ถึง 2533)
- เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม (พ.ศ. 2533 ถึง 2537)
- อธิบดีกรมประชาสงเคราะห์ (พ.ศ. 2537 ถึง 2540)
- รองปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม (พ.ศ. 2540 ถึง 2541)
- ตุลาการศาลปกครองสูงสุด (พ.ศ. 2543 ถึง 2551)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2537 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[1]
- พ.ศ. 2532 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[2]
- พ.ศ. 2531 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[3]
- พ.ศ. 2529 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[4]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 4 (ภ.ป.ร.4)[5]
อ้างอิง
แก้- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2007-01-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๑ ข หน้า ๔, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๖ ตอนที่ ๒๑๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๐๕ ตอนที่ ๓๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๑๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๖๓, ๒๑ มกราคม ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๑๖๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๑, ๒๐ กันยายน ๒๕๓๔