พ.ศ. 2518
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1975)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
พุทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีเถาะ สัปตศก จุลศักราช 1337 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2518 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1975 MCMLXXV |
Ab urbe condita | 2728 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1424 ԹՎ ՌՆԻԴ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6725 |
ปฏิทินบาไฮ | 131–132 |
ปฏิทินเบงกอล | 1382 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2925 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 23 Eliz. 2 – 24 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2519 |
ปฏิทินพม่า | 1337 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7483–7484 |
ปฏิทินจีน | 甲寅年 (ขาลธาตุไม้) 4671 หรือ 4611 — ถึง — 乙卯年 (เถาะธาตุไม้) 4672 หรือ 4612 |
ปฏิทินคอปติก | 1691–1692 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3141 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1967–1968 |
ปฏิทินฮีบรู | 5735–5736 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2031–2032 |
- ศกสมวัต | 1897–1898 |
- กลียุค | 5076–5077 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11975 |
ปฏิทินอิกโบ | 975–976 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1353–1354 |
ปฏิทินอิสลาม | 1394–1395 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 50 (昭和50年) |
ปฏิทินจูเช | 64 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4308 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 64 民國64年 |
เวลายูนิกซ์ | 157766400–189302399 |
ผู้นำประเทศไทย
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี
เหตุการณ์
แก้มกราคม - มิถุนายน
แก้- 27 มกราคม - ขบวนการชาตินิยมเปอร์โตริโกลอบวางระเบิดบาร์ชื่อวอลต์สตรีท
- 26 กุมภาพันธ์ - คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์แห่งชาติของอินเดียลงความเห็นว่าภาษากอนกานีเป็นภาษาเอกเทศ ไม่ใช่สำเนียงของภาษามราฐี
- 27 กุมภาพันธ์–วันสถาปนาวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา หรือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ในปัจจุบัน
- 28 กุมภาพันธ์ – เกิดอุบัติเหตุรถไฟฟ้าใต้ดินขบวนหนึ่งในกรุงลอนดอน แคว้นอังกฤษ พุ่งเลยสถานีจนชนกับกำแพง ทำให้คนขับและผู้โดยสารเสียชีวิต 29 คน บาดเจ็บมากกว่า 70 คน
- 4 มีนาคม – ชาร์ลี แชปลิน นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นตำนานแห่งภาพยนตร์เงียบ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นอัศวิน เป็นเซอร์ชาลส์ จากสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
- 5 เมษายน – เริ่มฉายขบวนการเซนไทครั้งแรก คือ ขบวนการโกเรนเจอร์ จำนวน 84 ตอน
- 17 เมษายน – กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา หรือ "เขมรแดง" บุกยึดกรุงพนมเปญ
- 30 เมษายน
- วันเปิดทำการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ใช้ชื่อภาษาอังกฤษในขณะนั้นว่า The Securities Exchange of Thailand)
- สงครามเวียดนามยุติลง เมื่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้รับชัยชนะในเวียดนามใต้ ทหารเวียดนามเหนือเข้ายึดเมืองไซ่ง่อน
- 28 พฤษภาคม - ชนกลุ่มน้อยในพม่ารวมตัวกันเป็นแนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติ
- 1 มิถุนายน - พม่าสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับเกาหลีเหนือ
- 5 มิถุนายน – คลองสุเอซเปิดใช้งานครั้งแรกหลังจากสงครามหกวัน
- 16 มิถุนายน – วันสถาปนาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
- 25 มิถุนายน - โมซัมบิกประกาศเอกราช
กรกฎาคม - ธันวาคม
แก้- 6 กรกฎาคม – คอโมโรสประกาศเอกราช
- 12 กรกฎาคม – เซาตูเมและปรินซิปี ประกาศเอกราชจากโปรตุเกส
- 15 กรกฎาคม –
- โครงการทดสอบอะพอลโล-โซยุซ: ยานอะพอลโลของสหรัฐฯ และยานโซยุซของสหภาพโซเวียต ถูกส่งขึ้นจากพื้นโลกในภารกิจเชื่อมต่อกันในอวกาศ
- แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ สร้างสถิติโลกชกน้อยครั้งที่สุดที่ได้ครองแชมป์โลก เมื่อชกมวยสากลครั้งที่ 3 และเป็นการชิงแชมป์โลกรุ่นไลท์เวลเตอร์เวท WBC ชนะน็อค เปริโก เฟอร์นานเดซ ยก 8
- 17 กรกฎาคม – อินโดนีเซียผนวกติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดที่ 27
- 11 สิงหาคม – พระธาตุพนมในจังหวัดนครพนม ล้มทลายลง เนื่องจากความเก่าแก่และมีฝนตกพายุพัดแรงติดต่อกันหลายวัน[1]
- 20 สิงหาคม – โครงการไวกิง: องค์การนาซาส่งยานไวกิง 1 ขึ้นสู่อวกาศ
- 16 กันยายน – ปาปัวนิวกินีประกาศเอกราช
- 11 ตุลาคม – Saturday Night Live วาไรตี้โชว์รายสัปดาห์ในสหรัฐอเมริกา ออกอากาศเป็นครั้งแรก
- 22 ตุลาคม – ยานเวเนรา 9 ของสหภาพโซเวียต ลงจอดบนพื้นผิวดาวศุกร์ นับเป็นยานอวกาศลำแรกของโลกที่สามารถถ่ายภาพขาวดำของพื้นดินดาวศุกร์ได้
- 28 ตุลาคม - ทีมฟุตบอลทีมชาติเปรูชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 30 ณ สนามกีฬาโอลิมปิโก กรุงการากัส ประเทศเวเนซุเอลา
- 22 พฤศจิกายน - สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งประเทศสเปน
- 25 พฤศจิกายน - ซูรินามประกาศเอกราช
- 28 พฤศจิกายน - พรรคเฟรติลินประกาศเอกราชของติมอร์ตะวันออกจากโปรตุเกส
- 2 ธันวาคม - วันก่อตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
- 5 ธันวาคม - พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 4 รอบ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
- 7 ธันวาคม - กองทัพเรืออินโดนีเซียโจมตีกองทหารโปรตุเกสที่ดิลี และเข้ายึดครอง ผนวกติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดที่ 27 ของอินโดนีเซีย
วันเกิด
แก้มกราคม
แก้- 1 มกราคม - ปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัล นักร้อง/นักแสดงชาวไทย
- 7 มกราคม - ปิยะ ศาสตรวาหา (โป้) นักร้องวงโยคีเพลย์บอย
- 8 มกราคม - ศักดิ์ นานา นักแข่งรถ/นักธุรกิจชาวไทย
- 9 มกราคม - ไชโย ธนาวัฒน์ นักร้องชาวไทย
- 15 มกราคม -
- ซอฟี วีลแม็ส นักการเมืองชาวเบลเยี่ยม
- แมรี เพียร์ซ นักเทนนิสชาวฝรั่งเศส-อเมริกัน
- 16 มกราคม - สวิช เพชรวิเศษศิริ นักแสดงชาวไทย
- 19 มกราคม
- สมจิตร จงจอหอ นักมวยชายชาวไทย
- วีรินทร์ทิรา นาทองบ่อจรัส ผู้ประกาศข่าวชาวไทย
- 31 มกราคม - พิชิต ช.ศิริวัฒน์ แชมป์โลกมวยสากลชาวไทยคนที่ 25
กุมภาพันธ์
แก้- 2 กุมภาพันธ์ - อินทิรา ยืนยง (อิน บูโดกัน) นักร้อง/นักแสดงชาวไทย
- 6 กุมภาพันธ์ - นัท มีเรีย (นัท) นักร้อง/นักแสดง/พิธีกรชาวไทย
- 13 กุมภาพันธ์ - อริสรา กำธรเจริญ อาจารย์/ผู้ประกาศข่าว/นักแสดง/พิธีกรชาวไทย
- 22 กุมภาพันธ์ - ดรู แบร์รีมอร์ นักแสดงหญิงชาวอเมริกัน
มีนาคม
แก้- 14 มีนาคม
- ดวงจันทร์ สุวรรณี นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย
- กสิณพจน์ อภิพัฒน์กังวาน นักธุรกิจ/หัวหน้าค่ายมวย/ก.กังวาน
- สตีฟ ฮาร์เปอร์ นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 26 มีนาคม - เอกรัตน์ สารสุข นักแสดงชาวไทย
เมษายน
แก้- 1 เมษายน - สุธิตา เกตานนท์ นักแสดงหญิงชาวไทย
- 3 เมษายน - ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ นักการเมืองชาวไทย
- 9 เมษายน - ร็อบบี้ ฟาวเลอร์ นักฟุตบอลชายชาวอังกฤษ
- 25 เมษายน - ศรัณย์ สาครสิน นักแสดงและนายแบบชาวไทย (ถึงแก่กรรม 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541)
- 30 เมษายน
- ไมเคิล จตุรัณฑ์บุตร นักแสดงลูกครึ่งไทย-อเมริกัน
- สายรุ้ง อ.สุวรรณศิลป์ แชมป์โลก WBF
พฤษภาคม
แก้- 1 พฤษภาคม - สุธาสินี พุทธินันทน์ นักร้องชาวไทย
- 2 พฤษภาคม - เดวิด เบคแคม นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 12 พฤษภาคม - โจนาห์ โลมู นักรักบี้ชาวนิวซีแลนด์ (ถึงแก่กรรม 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558)
- 18 พฤษภาคม
- จอห์น ฮิกกินส์ นักสนุกเกอร์ชาวสกอตแลนด์
- แจ็ค จอห์นสัน นักร้องชาวอเมริกัน
- 25 พฤษภาคม เปรียบ สุวัตถิ์ นักร้องชาวกัมพูชา
มิถุนายน
แก้- 2 มิถุนายน - ธนพงศ์ คล้ายพงศ์พันธ์ หรือ (ทรงพล คล้ายพงศ์พันธ์) ดิ๊บ นักร้อง นักแสดงชาวไทย สมาชิกวง บอยสเก๊าท์
- 4 มิถุนายน
- แอนเจลีนา โจลี นักแสดงหญิงชาวอเมริกัน
- ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีชาวไทยและนักเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวไทย
- 13 มิถุนายน - จักรกฤษณ์ คชรัตน์ นักแสดงชายชาวไทย
- 17 มิถุนายน
- เอก ฮิมสกุล ผู้สื่อข่าว-พิธีกรชาวไทย
- พิยดา จุฑารัตนกุล นักแสดงชาวไทย
- 20 มิถุนายน - ชญาดา ลิ่วเฉลิมวงศ์ พิธีกรหญิงชาวไทย
- 22 มิถุนายน - ปิยธิดา วรมุสิก นักแสดงหญิงชาวไทย
- 23 มิถุนายน - เจ้าชายดาเนียลแห่งซัคเซิน
- 25 มิถุนายน - อัลเบิร์ต คอสตา นักเทนนิสชาวสเปน
- 27 มิถุนายน - โทบี้ แมคไกวร์ นักแสดง, โปรดิวเซอร์ภาพยนตร์และผู้กำกับภาพยนตร์ชายชาวอเมริกา
กรกฎาคม
แก้- 17 กรกฎาคม - เดวิด อัศวนนท์ นักแสดงชาวไทย - ฝรั่งเศส
- 28 กรกฎาคม - ทากาโนริ ฮาตาเกยาม่า แชมป์โลกมวยสากลชาวญี่ปุ่น
สิงหาคม
แก้- 7 สิงหาคม - ฟ้าประกอบ รักเกียรติยิม นักมวยชาวไทย
- 11 สิงหาคม - คิโช ทานิยามะ นักร้องชาวญี่ปุ่น
- 16 สิงหาคม - สุนิตา ลีติกุล นักร้องชาวไทย
- 23 สิงหาคม - ฮวน มานูเอล มาร์เกวซ แชมป์โลกมวยสากลชาวเม็กซิโก
- 28 สิงหาคม - สาริน บางยี่ขัน นักแสดงชาวไทย
กันยายน
แก้- 9 กันยายน - ไมเคิล บูเบล นักร้องชาวแคนนาดา
- 16 กันยายน - ฮูร์แบร์ตุส เจ้าชายรัชทายาทแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา
- 21 กันยายน - โซลานี่ เปเตโล่ แชมป์โลกมวยสากลชาวแอฟริกาใต้
- 23 กันยายน - วลาดิเมียร์ ไซโดเรนโก แชมป์โลกมวยสากลชาวยูเครน
- 25 กันยายน - แมตต์ แฮสเสลเบค นักอเมริกันฟุตบอลชาวอเมริกัน
ตุลาคม
แก้- 1 ตุลาคม - อีริค โมเรล แชมป์โลกมวยสากลชาวเปอร์โตริโก
- 5 ตุลาคม - เคต วินสเลต นักแสดงชาวอังกฤษ
- 7 ตุลาคม - ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค นักกีฬาเหรียญทองเอเชียนเกมส์ และแชมป์ PABA
- 12 ตุลาคม - มานพ คีรีภูวดล นักการเมืองชาวไทย
- 15 ตุลาคม - แดนึส ชมือฮัล นายกรัฐมนตรีชาวยูเครน
พฤศจิกายน
แก้- 2 พฤศจิกายน - อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม นักแสดงและผู้กำกับชาวไทย
- 3 พฤศจิกายน - อาเล็กซันเดอร์ เดอ โกร นักการเมืองและนักธุรกิจชาวเบลเยียม
- 4 พฤศจิกายน - เทพิน เลี่ยมอยู่ นักร้องชาวไทย
- 26 พฤศจิกายน - มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ นักแสดงชาวไทย
ธันวาคม
แก้- 5 ธันวาคม - หยกไท ศิษย์ อ. แชมป์โลกมวยสากลชาวไทยคนที่ 24
- 11 ธันวาคม - ยอดชิงชัย ศรทองยิม แชมป์โลก WBU
- 18 ธันวาคม - เซีย (นักดนตรี) นักร้องชาวออสเตรเลีย
- 30 ธันวาคม - ไทเกอร์ วูดส์ นักกอล์ฟชาวอเมริกัน
วันถึงแก่กรรม
แก้- 7 กุมภาพันธ์ - ศิริมาบังอร เหรียญสุวรรณ (ประสูติ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2447)
- 14 กุมภาพันธ์ - จูเลียน ฮักซ์ลีย์ นักชีววิทยาชาวอังกฤษ (เกิด 22 มิถุนายน พ.ศ. 2430)
- 1 เมษายน - หม่อมเจ้าลักษณ์เลิศ ชยางกูร (ประสูติ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2439)
- 5 เมษายน - เจียง ไคเช็ค นักการเมืองชาวจีน (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2430)
- 17 เมษายน - ลน นน ทหารและนักการเมืองชาวกัมพูชา (เกิด 18 เมษายน พ.ศ. 2473)
- 8 มิถุนายน - เมอเรย์ ไลน์สเตอร์ นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ (เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2439)
- 9 มิถุนายน - ศักดิ์ชาย เปล่งพานิช นักร้องและนักแสดงชาวไทย (เกิด 17 มกราคม พ.ศ. 2459)
- 9 สิงหาคม - ดมีตรี ชอสตโกวิช นักดนตรีชาวรัสเซีย (เกิด 25 กันยายน พ.ศ. 2449)
- 27 สิงหาคม - สมเด็จพระจักรพรรดิฮัยเลอ ซึลลาเซที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย (พระราชสมภพ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2435)
- 31 สิงหาคม - วันดี ศรีตรัง นักแสดงชาวไทย (เกิด 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493)
- 2 กันยายน - หม่อมเจ้ามงคลอุดม ชยางกูร (ประสูติ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2446)
- 8 กันยายน - หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ องคมนตรี (เกิด 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441)
- 16 ตุลาคม - พระครูภาวนาภิรัต (ทิม อิสริโก) (เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2422)
- 20 พฤศจิกายน - ฟรันซิสโก ฟรังโก นักการเมืองชาวสเปน (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2435)
- 30 พฤศจิกายน - สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา (ประสูติ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2445)
- 4 ธันวาคม - หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล (ประสูติ 23 มีนาคม พ.ศ. 2457)
- 28 ธันวาคม - พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) นักวิชาการชาวไทย (เกิด 19 ธันวาคม พ.ศ. 2429)
รางวัล
แก้รางวัลโนเบล
แก้- สาขาเคมี – John Warcup Cornforth, Vladimir Prelog
- สาขาวรรณกรรมง – อูเจนิโอ มอนตาเล
- สาขาสันติภาพ – อันเดรย์ ดมีตรีเยวิช ซาคารอฟ
- สาขาฟิสิกส์ – Aage Niels Bohr, Ben Roy Mottelson, Leo James Rainwater
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – เดวิด บัลติมอ, เรนาโต ดุลเบกโก, โฮเวิร์ด มาร์ติน เทมิน
- สาขาเศรษฐศาสตร์ – Leonid Kantorovich, Tjalling Koopmans