โกปาอาเมริกา (สเปน: Copa América) หรือ กอปาอาแมรีกา (โปรตุเกส: Copa América) เป็นการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติของสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ จัดขึ้นครั้งแรกใน ค.ศ. 1916[1] การแข่งขันเกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอจากสาเหตุต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ ค.ศ. 1983 เป็นต้นมามีการแข่งขันทุกสองปี จนกระทั่งถึงในปี ค.ศ. 2004 ที่ห่างจากการแข่งขันครั้งก่อนหน้าใน ค.ศ. 2001 เป็นเวลาสามปี จนกระทั่งใน ค.ศ. 2007 จึงมีการตกลงในหมู่ประเทศที่เข้าทำการแข่งขันว่าจะจัดการแข่งขันทุกสี่ปี

โกปาอาเมริกา
ก่อตั้งค.ศ. 1916 (ฟุตบอลชิงแชมป์อเมริกาใต้)
ค.ศ. 1975 (โกปาอาเมริกา)
ภูมิภาคอเมริกาใต้ (คอนเมบอล)
จำนวนทีม12
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (สมัยที่ 15)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย
(ทีมละ 15 สมัย)
เว็บไซต์copaamerica.com
โกปาอาเมริกา 2021
ถ้วยรางวัลประจำรายการ
ถ้วยรางวัลแบบเก่า
ถ้วยรางวัลแบบใหม่

คำว่า โกปา ในภาษาสเปน และ กอปา ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "ถ้วย"

เจ้าภาพ แก้

 
แผนที่แสดงจำนวนครั้งของการเป็นเจ้าภาพ
ทีมชาติ
เจ้าภาพ จำนวนครั้ง
  อาร์เจนตินา 9 (1916, 1921, 1925, 1929, 1937, 1946, 1959, 1987, 2011)
  อุรุกวัย 7 (1917, 1923, 1924, 1942, 1956, 1967, 1995)
  ชิลี 7 (1920, 1926, 1941, 1945, 1955, 1991, 2015)
  บราซิล 6 (1919, 1922, 1949, 1989, 2019, 2021)
  เปรู 6 (1927, 1935, 1939, 1953, 1957, 2004)
  เอกวาดอร์ 3 (1947, 1959, 1993)
ไม่มีเจ้าภาพ 3 (1975, 1979, 1983)
  โบลิเวีย 2 (1963, 1997)
  ปารากวัย 1 (1999)
  โคลอมเบีย 1 (2001)
  เวเนซุเอลา 1 (2007)
  สหรัฐC 1 (2016)
C = ทีมที่ได้มาจากโซนคอนเมบอล

รับเชิญ แก้

ทีมชาติ  
1993
 
1995
 
1997
 
1999
 
2001
 
2004
 
2007
 
2011
 
2015
 
2016
 
2019
 
2021
จำนวนครั้ง
  คอสตาริกา  –  – GS  – QF QF  – GS  – GS  –  – 5
  เฮติ  –  –  –  –  –  –  –  –  – GS  –  – 1
  ฮอนดูรัส  –  –  –  – 3rd  –  –  –  –  –  –  – 1
  จาเมกา  –  –  –  –  –  –  –  – GS GS  –  – 2
  ญี่ปุ่น  –  –  – GS  –  –  –  –  –  – GS  – 2
  เม็กซิโก 2nd QF 3rd 3rd 2nd QF 3rd GS GS QF  –  – 10
  ปานามา  –  –  –  –  –  –  –  –  – GS  –  – 1
  กาตาร์  –  –  –  –  –  –  –  –  –  –  GS  – 1
  สหรัฐ GS 4th  –  –  –  – GS  –  – 4th  –  – 4

ผลการแข่งขัน แก้

ฟุตบอลชิงแชมป์อเมริกาใต้ แก้

ปี เจ้าภาพ รอบ 4 ทีม
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3 อันดับ 4
1916
[C]
  อาร์เจนตินา   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   บราซิล   ชิลี
1917   อุรุกวัย   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   บราซิล   ชิลี
1919   บราซิล   บราซิล   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   ชิลี
1920   ชิลี   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   บราซิล   ชิลี
1921   อาร์เจนตินา   อาร์เจนตินา   บราซิล   อุรุกวัย   ปารากวัย
1922   บราซิล   บราซิล   ปารากวัย   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา
1923   อุรุกวัย   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   ปารากวัย   บราซิล
1924   อุรุกวัย   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   ปารากวัย   ชิลี
1925
[A]
  อาร์เจนตินา   อาร์เจนตินา   บราซิล   ปารากวัย N/A
1926   ชิลี   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   ชิลี   ปารากวัย
1927   เปรู   อาร์เจนตินา   อุรุกวัย   เปรู   โบลิเวีย
1929   อาร์เจนตินา   อาร์เจนตินา   ปารากวัย   อุรุกวัย   เปรู
1935
[D]
  เปรู   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   เปรู   ชิลี
1937   อาร์เจนตินา   อาร์เจนตินา   บราซิล   อุรุกวัย   ปารากวัย
1939   เปรู   เปรู   อุรุกวัย   ปารากวัย   ชิลี
1941
[D]
  ชิลี   อาร์เจนตินา   อุรุกวัย   ชิลี   เปรู
1942   อุรุกวัย   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   บราซิล   ปารากวัย
1945
[D]
  ชิลี   อาร์เจนตินา   บราซิล   ชิลี   อุรุกวัย
1946
[D]
  อาร์เจนตินา   อาร์เจนตินา   บราซิล   ปารากวัย   อุรุกวัย
1947   เอกวาดอร์   อาร์เจนตินา   ปารากวัย   อุรุกวัย   ชิลี
1949   บราซิล   บราซิล   ปารากวัย   เปรู   โบลิเวีย
1953   เปรู   ปารากวัย   บราซิล   อุรุกวัย   ชิลี
1955   ชิลี   อาร์เจนตินา   ชิลี   เปรู   อุรุกวัย
1956
[D]
  อุรุกวัย   อุรุกวัย   ชิลี   อาร์เจนตินา   บราซิล
1957   เปรู   อาร์เจนตินา   บราซิล   อุรุกวัย   เปรู
1959   อาร์เจนตินา   อาร์เจนตินา   บราซิล   ปารากวัย   เปรู
1959
[D]
  เอกวาดอร์   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   บราซิล   เอกวาดอร์
1963   โบลิเวีย   โบลิเวีย   ปารากวัย   อาร์เจนตินา   บราซิล
1967   อุรุกวัย   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา   ชิลี   ปารากวัย

โกปาอาเมริกา แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่สาม
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับ 4
1975   ไม่มีเจ้าภาพ [F]   เปรู 0 – 1 / 2 – 0
Play-off
1 – 0
  โคลอมเบีย   บราซิล
  อุรุกวัย
N/A [B]
1979   ไม่มีเจ้าภาพ [F]   ปารากวัย 3 – 0 / 0 – 1
Play-off
0 – 0 a.e.t.
  ชิลี   บราซิล
  เปรู
N/A [B]
1983   ไม่มีเจ้าภาพ [F]   อุรุกวัย 2 – 0 / 1 – 1   บราซิล   ปารากวัย
  เปรู
N/A [B]
1987   อาร์เจนตินา   อุรุกวัย 1 – 0   ชิลี   โคลอมเบีย 2 – 1   อาร์เจนตินา
1989   บราซิล   บราซิล [E]   อุรุกวัย   อาร์เจนตินา [E]   ปารากวัย
1991   ชิลี   อาร์เจนตินา [E]   บราซิล   ชิลี [E]   โคลอมเบีย
1993   เอกวาดอร์   อาร์เจนตินา 2 – 1   เม็กซิโก   โคลอมเบีย 1 – 0   เอกวาดอร์
1995   อุรุกวัย   อุรุกวัย 1 – 1
5–3
pens
  บราซิล   โคลอมเบีย 4 – 1   สหรัฐ
1997   โบลิเวีย   บราซิล 3 – 1   โบลิเวีย   เม็กซิโก 1 – 0   เปรู
1999   ปารากวัย   บราซิล 3 – 0   อุรุกวัย   เม็กซิโก 2 – 1   ชิลี
2001   โคลอมเบีย   โคลอมเบีย 1 – 0   เม็กซิโก   ฮอนดูรัส 2 – 2
5–4
pens
  อุรุกวัย
2004   เปรู   บราซิล 2 – 2
4–2
pens
  อาร์เจนตินา   อุรุกวัย 2 – 1   โคลอมเบีย
2007   เวเนซุเอลา   บราซิล 3 – 0   อาร์เจนตินา   เม็กซิโก 3 – 1   อุรุกวัย
2011   อาร์เจนตินา   อุรุกวัย 3 – 0   ปารากวัย   เปรู 4 – 1   เวเนซุเอลา
2015   ชิลี   ชิลี 0 – 0
4–1
pen
  อาร์เจนตินา   เปรู 2 – 0   ปารากวัย
2016   สหรัฐ   ชิลี 0 – 0
4–2
pen
  อาร์เจนตินา   โคลอมเบีย 1 – 0   สหรัฐ
2019   บราซิล   บราซิล 3 – 1   เปรู   อาร์เจนตินา 2 – 1   ชิลี
2021   บราซิล   อาร์เจนตินา 1 – 0   บราซิล   โคลอมเบีย 3 – 2   เปรู
2024   เอกวาดอร์

ความสำเร็จในโกปาอาเมริกา แก้

ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่
  อาร์เจนตินา 15 (1921*, 1925*, 1927, 1929*, 1937*, 1941, 1945, 1946*, 1947, 1955, 1957, 1959 (Argentina)*, 1991, 1993, 2021) 14 (1916*, 1917, 1920, 1923, 1924, 1926, 1935, 1942, 1959 (Ecuador), 1967, 2004, 2007, 2015, 2016) 5 (1919, 1956, 1963, 1989, 2019) 2 (1922, 1987*)
  อุรุกวัย 15 (1916, 1917*, 1920, 1923*, 1924*, 1926, 1935, 1942*, 1956*, 1959 (Ecuador), 1967*, 1983, 1987, 1995*, 2011) 6 (1919, 1927, 1939, 1941, 1989, 1999) 9 (1921, 1922, 1929, 1937, 1947, 1953, 1957, 1975, 2004) 5 (1945, 1946, 1955, 2001, 2007)
  บราซิล 9 (1919*, 1922*, 1949*, 1989*, 1997, 1999, 2004, 2007, 2019*) 12 (1921, 1925, 1937, 1945, 1946, 1953, 1957, 1959 (Argentina), 1983, 1991, 1995, 2021*) 7 (1916, 1917, 1920, 1942, 1959 (Ecuador), 1975, 1979) 3 (1923, 1956, 1963)
  ปารากวัย 2 (1953, 1979) 6 (1922, 1929, 1947, 1949, 1963, 2011) 7 (1923, 1924, 1925, 1939, 1946, 1959 (Argentina), 1983) 7 (1921, 1926, 1937, 1942, 1967, 1989, 2015)
  ชิลี 2 (2015*, 2016) 4 (1955*, 1956, 1979, 1987) 5 (1926*, 1941*, 1945*, 1967, 1991*) 11 (1916, 1917, 1919, 1920*, 1924, 1935, 1939, 1947, 1953, 1999, 2019)
  เปรู 2 (1939*, 1975) 1 (2019) 8 (1927*, 1935*, 1949, 1955, 1979, 1983, 2011, 2015) 6 (1929, 1941, 1957*, 1959 (Argentina), 1997, 2021)
  โคลอมเบีย 1 (2001*) 1 (1975) 5 (1987, 1993, 1995, 2016, 2021) 2 (1991, 2004)
  โบลิเวีย 1 (1963*) 1 (1997*) 2 (1927, 1949)
  เม็กซิโก^ 2 (1993, 2001) 3 (1997, 1999, 2007)
  ฮอนดูรัส^ 1 (2001)
  เอกวาดอร์ 2 (1959 (Ecuador)*, 1993*)
  สหรัฐ^ 2 (1995, 2016*)
  เวเนซุเอลา 1 (2011)
*=เจ้าภาพ
^=รับเชิญ

อ้างอิง แก้

  1. "History of the birth to the creation of the Football Copa America". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-25. สืบค้นเมื่อ 2015-06-11.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้