โกปาอาเมริกา 2021 รอบชิงชนะเลิศ

การแข่งขันฟุตบอล

โกปาอาเมริกา 2021 รอบชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันฟุตบอลเพื่อที่จะตัดสินหาผู้ชนะของการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์อเมริกาใต้ โกปาอาเมริกา ครั้งที่ 47 จัดขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 ระหว่างทีมชาติบราซิล พบกับทีมชาติอาร์เจนตินาสนามกีฬามารากานังในรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล

โกปาอาเมริกา 2021 รอบชิงชนะเลิศ
สนามกีฬามารากานังในรีโอเดจาเนโร สนามแข่งขันในนัดนี้
รายการโกปาอาเมริกา 2021
วันที่10 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 (2021-07-10)
สนามสนามกีฬามารากานัง, รีโอเดจาเนโร
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
อังเฆล ดิ มาริอา (อาร์เจนตินา)
ผู้ตัดสินเอสเตบัน ออสโตยิช (อุรุกวัย)
ผู้ชม7,800 คน
2019
2024

อาร์เจนตินา ชนะการแข่งขันด้วยการชนะเจ้าภาพบราซิลด้วยคะแนน 1–0 จากการทำประตูของอังเฆล ดิ มาริอา ในนาทีที่ 22 ทำให้อาร์เจนตินาคว้าแชมป์รายการระดับสูงได้เป็นครั้งแรกในรอบ 28 ปี และเป็นครั้งแรกของนักฟุตบอลในทีมทุกคนรวมถึง ลิโอเนล เมสซิ ผู้ทำประตูและลงเล่นสูงสุดของอาร์เจนตินา

สนามแข่งขัน แก้

รอบชิงชนะเลิศจะจัดขึ้นที่สนามกีฬามารากานังของรีโอเดจาเนโร สนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในประเทศบราซิลเป็นครั้งที่สองติดต่อกัน คาดว่าจะไม่มีแฟนฟุตบอลเข้าชม เนื่องจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในทวีปอเมริกาใต้[1]

ภูมิหลัง แก้

อาร์เจนตินา ลงเล่นในนัดชิงชนะเลิศโกปาอาเมริกาเป็นครั้งที่ 29 โดยชนะเลิศได้ 15 ครั้งซึ่งครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1993 ที่เอกวาดอร์ ในสี่ครั้งหลังที่อาร์เจนตินาเจ้าชิงชนะเลิศฟุตบอลระดับเมเจอร์พวกเขาพ่ายแพ้ทั้งหมดทั้งโกปาอาเมริกา 2011, ฟุตบอลโลก 2014 ซึ่งพ่ายแพ้ต่อเยอรมนี ที่มารากัง และในปี ค.ศ. 2015 และ2016 ซึ่งพวกเขาพ่ายแพ้ต่อชิลีทั้งสองครั้งติดต่อกัน

ขณะที่ บราซิล เข้าชิงชนะเลิศเป็นครั้งที่ 21 โดยชนะเลิศได้ 9 ครั้งซึ่งบราซิลเป็นแชมป์เก่าจากการแข่งขันในปี ค.ศ. 2019 หลังเอาชนะทีมชาติเปรู 1-3

เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ แก้

อาร์เจนตินา รอบ บราซิล
ทีมที่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม ทีมที่แข่งขัน ผล
  ชิลี 1–1 นัดที่ 1   เวเนซุเอลา 3–0
  อุรุกวัย 1–0 นัดที่ 2   เปรู 4–0
  ปารากวัย 1–0 นัดที่ 3   โคลอมเบีย 2–1
  โบลิเวีย 4–1 นัดที่ 4   เอกวาดอร์ 1–1
กลุ่มเอ ชนะเลิศ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   อาร์เจนตินา 4 10
2   อุรุกวัย 4 7
3   ปารากวัย 4 6
4   ชิลี 4 5
5   โบลิเวีย 4 0
แหล่งที่มา : คอนเมบอล
ตารางคะแนน กลุ่มบี ชนะเลิศ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   บราซิล (H) 4 10
2   เปรู 4 7
3   โคลอมเบีย 4 4
4   เอกวาดอร์ 4 3
5   เวเนซุเอลา 4 2
แหล่งที่มา : คอนเมบอล
(H) เจ้าภาพ.
คู่แข่งขัน ผล รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน ผล
  เอกวาดอร์ 3–0 รอบก่อนรองชนะเลิศ   ชิลี 1–0
  โคลอมเบีย 1–1 (3–2 ) รอบรองชนะเลิศ   เปรู 1–0

ก่อนการแข่งขัน แก้

นัด แก้

รายละเอียด แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
อาร์เจนตินา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
บราซิล
GK 23 เอมิเลียโน มาร์ติเนซ
RB 4 กอนซาโล มอนติเอล   89'
CB 13 กริสเตียน โรเมโร   79'
CB 19 นิโกลัส โอตาเมนดิ   81'
LB 8 มาร์โกส อากุญญา
RM 11 อังเฆล ดิ มาริอา   79'
CM 7 โรดริโก เด โปล   68'
CM 5 เลอันโดร ปาเรเดส   33'   54'
LM 20 โยบานิ โล เซลโซ   51'   63'
CF 10 ลิโอเนล เมสซิ (กัปตัน)
CF 22 เลาตาโร มาร์ติเนซ   79'
การเปลี่ยนตัวผู้เล่น:
MF 18 กิโด โรดริเกซ   54'
DF 3 นิโกลัส ตาเกลียฟิโก   63'
DF 6 เฆร์มัน เปเซลา   79'
FW 15 นิโกลัส กอนซาเลซ   79'
MF 14 เอกเซกิเอล ปาลาซิโอส   79'
ผู้จัดการทีม:
ลิโอเนล เอสกาโลนิ
 
GK 23 แอแดร์ซง
RB 2 ดานีลู
CB 4 มาร์กิญญุส   82'
CB 3 ชียากู ซิลวา (กัปตัน)
LB 16 เรนัง ลอจี   70'   76'
CM 17 ลูกัส ปาแกตา   72'   76'
CM 5 กาเซมีรู
CM 8 แฟรจี   3'   46'
RF 19 แอแวร์ตง   63'
CF 10 เนย์มาร์
LF 7 รีชาร์ลีซง
การเปลี่ยนตัวผู้เล่น:
FW 20 โรแบร์ตู ฟีร์มีนู   46'
FW 18 วีนีซียุส ฌูนีโยร์   63'
DF 13 แอแมร์ซง   76'
FW 21 กาบรีแยล บาร์บอซา   76'
ผู้จัดการทีม:
ชีชี

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
อังเฆล ดิ มาริอา (อาร์เจนตินา)

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
การ์โลส บาร์เรย์โร (อุรุกวัย)
มาร์ติน โซปิ (อุรุกวัย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
ดิเอโก อาโร (เปรู)
ผู้ตัดสินที่ห้า:
โฆเซ อันเตโล (โบลิเวีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
อันเดรส กุญญา (อุรุกวัย)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
ดานิเอล เฟดอร์ซุก (อุรุกวัย)
อาเลกซันเดร์ กุซมัน (โคลอมเบีย)
ยอน โอสปินา (โคลอมเบีย)

กฏ-กติกาการแข่งขัน

  • แข่งขันเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษเพื่อหาผู้ชนะ
  • ส่งชื่อผู้เล่นสำรองได้สิบสองคน
  • เปลี่ยนตัวผู้เล่นสูงสุดได้ห้าคน โดยอนุญาตให้เปลี่ยนผู้เล่นคนที่หกได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ[note 1]

สถิติ แก้

โดยรวม[3]
สถิติ อาร์เจนตินา บราซิล
ประตูที่ทำได้ 1 0
ยิงทั้งหมด 6 13
ยิงเข้ากรอบ 2 2
เซฟ 2 1
เปอร์เซ็นต์การครองบอล 41% 59%
เตะมุม 1 4
ทำฟาวล์ 26 23
ล้ำหน้า 0 3
ใบเหลือง 5 4
ใบแดง 0 0

หลังการแข่งขัน แก้

บันทึก แก้

  1. แต่ละทีมจะได้รับโอกาสเปลี่ยนตัวผู้เล่นเพียงสามครั้ง แต่มีโอกาสเปลี่ยนตัวครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษโดยไม่รวมการเปลี่ยนตัวผู้เล่นในช่วงพักครึ่งแรก ก่อนเริ่มช่วงต่อเวลาพิเศษ และช่วงพักครึ่งเวลาแรกในการต่อเวลาพิเศษ

อ้างอิง แก้

  1. "Brazil races clock, COVID-19 chaos to pull off Copa America". Daily Sabah.
  2. "Designación de Árbitros" (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL. 7 July 2021. สืบค้นเมื่อ 7 July 2021.
  3. "Argentina vs Brazil – Football Match Stats". ESPN. 10 July 2021. สืบค้นเมื่อ 10 July 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้