ฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐ
ฟุตบอลชายทีมชาติสหรัฐ (อังกฤษ: United States men's national soccer team) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสหรัฐในการการแข่งขันฟุตบอลระดับชาติ ควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลสหรัฐ โดยเป็นทีมชาติในภูมิภาคคอนคาแคฟ
ฉายา | The Star and Stripes[1] The Yanks[2] | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลสหรัฐ | ||
สมาพันธ์ย่อย | สหภาพฟุตบอลอเมริกาเหนือ | ||
สมาพันธ์ | คอนคาแคฟ (อเมริกาเหนือ) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | เกรกก์ เบอร์แฮลเตอร์ | ||
กัปตัน | คลินต์ เดมป์ซีย์ | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | โคบี โจนส์ (164) | ||
ทำประตูสูงสุด | แลนดอน โดโนแวน (57) | ||
รหัสฟีฟ่า | USA | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 11 (20 มิถุนายน 2024)[3] | ||
อันดับสูงสุด | 4 (April 2006 [4]) | ||
อันดับต่ำสุด | 36 (July 2012 [5]) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
ไม่เป็นทางการ: สหรัฐ 0–1 แคนาดา (นูอาร์ก; 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428) ทางการ: สวีเดน 2–3 สหรัฐ (สต็อกโฮล์ม; 20 สิงหาคม พ.ศ. 2449) | |||
ชนะสูงสุด | |||
สหรัฐ 8–0 บาร์เบโดส เดอะ โฮม ดีโป สเตเดียม (คาร์สัน; 15 มิถุนายน พ.ศ. 2551) | |||
แพ้สูงสุด | |||
นอร์เวย์ 11–0 สหรัฐ (ออสโล; 11 สิงหาคม พ.ศ. 2491) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 11 (ครั้งแรกใน 1930) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับสาม 1930 | ||
คอนคาแคฟแชมเปียนชิพ & โกลด์คัพ | |||
เข้าร่วม | 15 (ครั้งแรกใน 1991) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1991, 2002, 2005, 2007, 2013, 2017, 2021) | ||
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | |||
เข้าร่วม | 4 (ครั้งแรกใน 1992) | ||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ 2009 |
ทีมชาติสหรัฐเคยลงแข่งขันในฟุตบอลโลกทั้งหมด 10 สมัย โดยเป็นเจ้าภาพในฟุตบอลโลก 1994 นอกจากนี้ยังลงแข่งขันในรายการคอนเฟเดอเรชันส์คัพ, คอนคาแคฟ โกลด์คัพ และเป็นทีมชาติรับเชิญในการแข่งขันโกปาอาเมริกา โดยผลงานที่ดีที่สุดของทีมชาติสหรัฐคือการคว้าอันดับ 3 ในฟุตบอลโลก 1930 ที่ประเทศอุรุกวัย ซึ่งถือได้ว่าเป็นผลงานที่ดีที่สุดในฟุตบอลโลกของทีมที่ไม่ได้มาจากทวีปยุโรปและอเมริกาใต้จวบจนปัจจุบัน
ผลงานของทีมสหรัฐได้อันดับสูงสุดคืออันดับที่สามในฟุตบอลโลก 1930 ในการแข่งขันโอลิมปิก ได้หนึ่งเหรียญเงินและหนึ่งเหรียญทองแดง สำหรับในระดับภูมิภาคทีมอเมริกาได้ชนะเลิศโกลด์คัพมาแล้ว 7 ครั้ง
ประวัติ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผู้เล่นชุดปัจจุบัน
แก้รายชื่อผู้เล่น 26 คนที่ถูกเรียกตัวในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2022[6]
จำนวนนัดที่ลงเล่นให้ทีมชาติและจำนวนประตูที่ยิงได้นับถึงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2022 หลังแข่งขันกับ เวลส์
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | GK | แมตต์ เทอร์เนอร์ | 24 มิถุนายน ค.ศ. 1994 | 21 | 0 | อาร์เซนอล |
12 | GK | Ethan Horvath | 9 มิถุนายน ค.ศ. 1995 | 8 | 0 | ลูตันทาวน์ |
25 | GK | Sean Johnson | 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 | 10 | 0 | นิวยอร์กซิตี |
2 | DF | แซร์จินโย แด็สต์ | 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 | 20 | 2 | เอซี มิลาน |
3 | DF | Walker Zimmerman | 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 | 34 | 3 | แนชวิลล์ |
5 | DF | แอนโทนี รอบินสัน | 8 สิงหาคม ค.ศ. 1997 | 30 | 2 | ฟูลัม |
13 | DF | ทิม รีม | 5 ตุลาคม ค.ศ. 1987 | 47 | 1 | ฟูลัม |
15 | DF | Aaron Long | 12 ตุลาคม ค.ศ. 1992 | 29 | 3 | นิวยอร์กเร็ดบุลส์ |
18 | DF | Shaq Moore | 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 | 15 | 1 | แนชวิลล์ |
20 | DF | Cameron Carter-Vickers | 31 ธันวาคม ค.ศ. 1997 | 11 | 0 | เซลติก |
22 | DF | DeAndre Yedlin | 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1993 | 76 | 0 | อินเตอร์ ไมแอมี |
26 | DF | Joe Scally | 31 ธันวาคม ค.ศ. 2002 | 3 | 0 | โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค |
4 | MF | ไทเลอร์ แอดัมส์ (กัปตัน) | 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 | 33 | 1 | ลีดส์ยูไนเต็ด |
6 | MF | Yunus Musah | 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 | 20 | 0 | บาเลนเซีย |
8 | MF | Weston McKennie | 28 สิงหาคม ค.ศ. 1998 | 38 | 9 | ยูเวนตุส |
11 | MF | เบรนเดิน แอรอนสัน | 22 ตุลาคม ค.ศ. 2000 | 25 | 6 | ลีดส์ยูไนเต็ด |
14 | MF | Luca de la Torre | 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 | 12 | 0 | เซลตาเดบิโก |
17 | MF | Cristian Roldan | 3 มิถุนายน ค.ศ. 1995 | 32 | 0 | ซีแอตเทิลซาวน์เดอส์ |
23 | MF | Kellyn Acosta | 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 | 54 | 2 | ลอสแอนเจลิส |
7 | FW | โจวันนี เรย์นา | 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 | 14 | 4 | โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ |
9 | FW | Jesús Ferreira | 24 ธันวาคม ค.ศ. 2000 | 15 | 7 | เอฟซี ดัลลัส |
10 | FW | คริสเตียน พะลิซิก | 18 กันยายน ค.ศ. 1998 | 53 | 21 | เอซี มิลาน |
16 | FW | Jordan Morris | 26 ตุลาคม ค.ศ. 1994 | 50 | 11 | ซีแอตเทิลซาวน์เดอส์ |
19 | FW | Haji Wright | 27 มีนาคม ค.ศ. 1998 | 4 | 1 | อันตาลยาสปอร์ |
21 | FW | Timothy Weah | 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 | 26 | 4 | ลีล |
24 | FW | Josh Sargent | 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 | 21 | 5 | นอริชซิตี |
อดีตผู้เล่นคนสำคัญ
แก้เกียรติประวัติ
แก้สถิติ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อันดับดาวยิง
แก้- แลนดอน โดโนแวน - 57 ประตู
- คลินต์ เดมป์ซีย์ - 48 ประตู
- เอริก วินัลดา - 34 ประตู
- โจซี อัลติดอร์ - 31 ประตู
- ไบรอัน แม็คไบรด์ - 30 ประตู
- โจ-แม็กซ์ มัวร์ - 24 ประตู
- บรูซ เมอร์เรย์ - 21 ประตู
การแข่งขัน
แก้- เหรียญเงิน (1): 1904
- เหรียญทองแดง (1): 1904
- อันดับที่ 3: 1930
- รองชนะเลิศ : 2009
- ชนะเลิศ (7): 1991, 2002, 2005, 2007, 2013, 2017, 2021
- รองชนะเลิศ (6): 1989, 1993, 1998, 2009, 2011, 2019
- อันดับสาม (2): 1996, 2003
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Wilson, Paul (June 26, 2010). "USA 1–2 Ghana". The Guardian. London.
- ↑ The Yanks Are Coming USA-HON Commercial. U.S. Soccer. Retrieved on August 12, 2013. เก็บถาวร พฤษภาคม 22, 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
- ↑ "U.S. MEN MOVE TO BEST-EVER FOURTH PLACE IN FIFA WORLD RANKINGS". US Soccer Federation. April 19, 2006.
- ↑ Baxter, Kevin (July 6, 2017). "U.S. drops 12 spots to No. 35 in FIFA rankings". Los Angeles Times.
- ↑ "Berhalter Names 26 Player USMNT Roster For 2022 FIFA World Cup". www.ussoccer.com.
- ↑ "โคลอมเบียซิวที่ 3 "บัคคา" ยิงดับมะกัน 1-0". ผู้จัดการออนไลน์. 26 June 2016. สืบค้นเมื่อ 26 June 2016.[ลิงก์เสีย]