คอนคาแคฟโกลด์คัพ

(เปลี่ยนทางจาก โกลด์คัพ)

คอนคาแคฟโกลด์คัพ (อังกฤษ: CONCACAF Gold Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของทีมชาติในคอนคาแคฟ จากทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และประเทศหมู่เกาะจากแคริบเบียน โดยเริ่มมีการแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) ภายใต้ชื่อ คอนคาแคฟแชมเปียนชิพ (CONCACAF Championship) โดยจัดขึ้นแทนการแข่งขันซีซีซีเอฟแชมเปียนชิพ ที่เป็นการแข่งขันเดิมที่จำกัดเฉพาะประเทศในอเมริกากลางและจากหมู่เกาะในแคริบเบียน การแข่งขันจัดขึ้นจนกระทั่งในปี พ.ศ. 2514 ได้เป็นปีสุดท้ายที่จัดการแข่งขัน และได้มีการจัดการแข่งขันใหใม่อีกครั้งในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) โดยเปลี่ยนชื่อการแข่งขันเป็น "โกลด์คัพ" และ 2 อันดับแรกจะได้สิทธิ์ไปเล่นโกปาอาเมริกาอีกด้วย

คอนคาแคฟโกลด์คัพ
ก่อตั้ง1963; 61 ปีที่แล้ว (1963)[1]
ภูมิภาคอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (คอนคาแคฟ)
จำนวนทีม16
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติสหรัฐ สหรัฐ (สมัยที่ 7)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก (8 สมัย)
เว็บไซต์www.goldcup.org
คอนคาแคฟโกลด์คัพ 2021
ทีมที่ชนะเลิศคอนคาแคฟโกลด์คัพ

ผลการแข่งขัน

แก้
คอนคาแคฟแชมเปียนชิพ
ปี เจ้าภาพ Final Group Rank
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3 อันดับ 4
1963
รายละเอียด
  เอลซัลวาดอร์   คอสตาริกา   เอลซัลวาดอร์   เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส   ฮอนดูรัส
1965
รายละเอียด
  กัวเตมาลา   เม็กซิโก   กัวเตมาลา   คอสตาริกา   เอลซัลวาดอร์
1967
รายละเอียด
  ฮอนดูรัส   กัวเตมาลา   เม็กซิโก   ฮอนดูรัส   ตรินิแดดและโตเบโก
1969
รายละเอียด
  คอสตาริกา   คอสตาริกา   กัวเตมาลา   เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส   เม็กซิโก
1971
รายละเอียด
  ตรินิแดดและโตเบโก   เม็กซิโก   เฮติ   คอสตาริกา   คิวบา
World Cup Qualifying Period
1973
รายละเอียด
  เฮติ   เฮติ   ตรินิแดดและโตเบโก   เม็กซิโก   ฮอนดูรัส
1977
รายละเอียด
  เม็กซิโก   เม็กซิโก   เฮติ   เอลซัลวาดอร์   แคนาดา
1981
รายละเอียด
  ฮอนดูรัส   ฮอนดูรัส   เอลซัลวาดอร์   เม็กซิโก   แคนาดา
1985
รายละเอียด
CONCACAF (No Fixed Venue)   แคนาดา   ฮอนดูรัส   คอสตาริกา ---
1989
รายละเอียด
CONCACAF (No Fixed Venue)   คอสตาริกา   สหรัฐ   ตรินิแดดและโตเบโก   กัวเตมาลา
โกลด์คัพ
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่สาม
ชนะเลิศ ผล รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผล อันดับ 4
1991   สหรัฐ   สหรัฐ 0 - 0
ต่อเวลา
(4 - 3)
ดวลลูกโทษ
  ฮอนดูรัส   เม็กซิโก 2 - 0   คอสตาริกา
1993   สหรัฐ /   เม็กซิโก   เม็กซิโก 4 - 0   สหรัฐ ได้อันดับที่สามร่วมกัน[2]
  คอสตาริกา
  จาเมกา
1996   สหรัฐ   เม็กซิโก 2 - 0   บราซิล   สหรัฐ 3 - 0   กัวเตมาลา
1998   สหรัฐ   เม็กซิโก 1 - 0   สหรัฐ   บราซิล 1 - 0   จาเมกา
2000   สหรัฐ   แคนาดา 2 - 0   โคลอมเบีย ไม่มีการชิงอันดับที่สาม
  เปรู
  ตรินิแดดและโตเบโก
2002   สหรัฐ   สหรัฐ 2 - 0   คอสตาริกา   แคนาดา 2 - 0   เกาหลีใต้
2003   สหรัฐ /
  เม็กซิโก
  เม็กซิโก 1 - 0
โกลเดนโกล
  บราซิล   สหรัฐ 3 - 2   คอสตาริกา
2005   สหรัฐ   สหรัฐ 0 - 0
ต่อเวลา
(3 - 1)
ดวลลูกโทษ
  ปานามา ไม่มีการชิงอันดับที่สาม
  ฮอนดูรัส
  โคลอมเบีย
2007   สหรัฐ   สหรัฐ 2 - 1   เม็กซิโก   แคนาดา
  กัวเดอลุป
2009   สหรัฐ   เม็กซิโก 5 - 0   สหรัฐ   คอสตาริกา
  ฮอนดูรัส
2011   สหรัฐ   เม็กซิโก 4 - 2   สหรัฐ   ปานามา
  ฮอนดูรัส
2013   สหรัฐ   สหรัฐ 1 - 0   ปานามา   ฮอนดูรัส
  เม็กซิโก
2015   สหรัฐ /
  แคนาดา
  เม็กซิโก 3 - 1   จาเมกา   ปานามา 1 - 1
ต่อเวลา
(3 - 2)
ดวลลูกโทษ
  สหรัฐ
2017   สหรัฐ   สหรัฐ 2 - 1   จาเมกา ไม่มีการชิงอันดับสาม
  คอสตาริกา
  เม็กซิโก
2019   สหรัฐ /
  คอสตาริกา /
  จาเมกา
  เม็กซิโก 1 - 0   สหรัฐ   เฮติ
  จาเมกา
2021   สหรัฐ   สหรัฐ 1 - 0
ต่อเวลา
  เม็กซิโก   กาตาร์
  แคนาดา

ผลงานแบ่งตามประเทศ

แก้
ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่
  เม็กซิโก 11 (1965, 1971, 1977, 1993, 1996, 1998, 2003, 2009, 2011, 2015, 2019) 3 (1967, 2007, 2021) 4 (1973, 1981, 1991, 2013) 1 (1969)
  สหรัฐ 7 (1991, 2002, 2005, 2007, 2013, 2017, 2021) 6 (1989, 1993, 1998, 2009, 2011, 2019) 2 (1996, 2003) 1 (2015)
  คอสตาริกา 3 (1963, 1969, 1989) 1 (2002) 5 (1965, 1971, 1985, 1993, 2009) 2 (1991, 2003)
  แคนาดา 2 (1985, 2000) 3 (2002, 2007, 2021) 2 (1977, 1981)
  ฮอนดูรัส 1 (1981) 2 (1985, 1991) 5 (1967, 2005, 2009, 2011, 2013) 2 (1963, 1973)
  เฮติ 1 (1973) 2 (1971, 1977) 1 (2019)
  กัวเตมาลา 1 (1967) 2 (1965, 1969) 2 (1989, 1996)
  จาเมกา 2 (2015, 2017) 2 (1993, 2019) 1 (1998)
  ปานามา 2 (2005, 2013) 2 (2011, 2015)
  เอลซัลวาดอร์ 2 (1963, 1981) 1 (1977) 1 (1965)
  บราซิล 2 (1996, 2003) 1 (1998)
  ตรินิแดดและโตเบโก 1 (1973) 2 (1989, 2000) 1 (1967)
  โคลอมเบีย 1 (2000) 1 (2005)
  เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส 2 (1963, 1969)
  กัวเดอลุป 1 (2007)
  เปรู 1 (2000)
  กาตาร์ 1 (2021)
  คิวบา 1 (1971)
  เกาหลีใต้ 1 (2002)

อ้างอิง

แก้
  1. "2007 CONCACAF Gold Cup – Technical Report" (PDF). CONCACAF. 12 November 2007. p. 4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (pdf)เมื่อ 2019-01-07. สืบค้นเมื่อ 28 November 2016.
  2. คอสตาริกาและจาเมกา เสมอกัน 1 ต่อ 1 และได้อันดับสามร่วมกัน

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้