โกปาอาเมริกา 2015
การแข่งขันฟุตบอล โกปาอาเมริกา เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับชาติรายการหลักสำหรับทีมชาติในทวีปอเมริกาใต้ ปัจจุบันได้จัดการแข่งขันที่ประเทศชิลีระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึง 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2558[1] นับเป็นครั้งที่ 44 ตั้งแต่มีการจัดขึ้น
โกปาอาเมริกา ชิลี 2015 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | ชิลี |
วันที่ | 11 มิถุนายน – 4 กรกฎาคม 2558 |
ทีม | 12 (จาก 2 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 9 (ใน 8 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ชิลี (สมัยที่ 1) |
รองชนะเลิศ | อาร์เจนตินา |
อันดับที่ 3 | เปรู |
อันดับที่ 4 | ปารากวัย |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 26 |
จำนวนประตู | 59 (2.27 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 655,902 (25,227 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ปาโอโล เกร์เรโร เอดัวร์โด บาร์กัส (4 ประตู เท่ากัน) |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | เกลาดีโอ บราโบ |
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | เยย์ซอน มูรีโย |
รางวัลแฟร์เพลย์ | เปรู |
อุรุกวัยเป็นทีมแชมป์เก่า แต่ตกรอบโดยเจ้าภาพในรอบก่อนรองชนะเลิศ มี 12 ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน ประกอบด้วยชาติสมาชิกของคอนเมบอล 10 ชาติ และชาติรับเชิญจากคอนคาแคฟอีก 2 ชาติ คือ เม็กซิโกและจาเมกา ซึ่งชาติหลังนี้เพิ่งเข้าร่วมการแข่งขันโกปาอาเมริกาเป็นครั้งแรก ผู้ชนะการแข่งขันนี้จะได้สิทธิ์เข้าไปแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ที่ประเทศรัสเซีย
สนามแข่งขัน
แก้การแข่งขันนี้จะใช้สนาม 9 สนามซึ่งตั้งอยู่ใน 8 เมือง สนามส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่างการบูรณะหรือสร้างขึ้นมาใหม่
อันโตฟากัสตา |
โกปาอาเมริกา 2015 (ชิลี) |
ลาเซเรนา | |
---|---|---|---|
สนามกีฬาแคว้นอันโตฟากัสตา | สนามกีฬาลาปอร์ตาดา | ||
ความจุ : 21,178 คน[2] | ความจุ : 17,194 คน[3] | ||
บีญาเดลมาร์ | บัลปาราอีโซ | ||
สนามกีฬาเซาซาลีโต | สนามกีฬาเอลีอัส ฟีเกโรอา | ||
ความจุ : 22,340 คน[4] | ความจุ : 23,000 คน[5] | ||
(สนามเก่า) |
|||
ซานเตียโก | รังกากวา | ||
สนามกีฬาแห่งชาติ | สนามกีฬาอนุสรณ์ดาบิด อาเรยาโน | สนามกีฬาเอลเตเนียนเต | |
ความจุ : 48,745[6] | ความจุ : 47,347[6] | ความจุ : 15,600 คน[7] | |
กอนเซปซีออน | เตมูโก | ||
สนามกีฬาเทศบาลกอนเซปซีออน | สนามกีฬาเทศบาลเคร์มัน เบเกร์ | ||
ความจุ : 35,000 คน[8] | ความจุ : 18,936 คน[9] | ||
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้รายการการแข่งขันได้ประกาศออกมาเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557[10]
กลุ่มเอ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ชิลี (H) | 3 | 2 | 1 | 0 | 10 | 3 | +7 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | โบลิเวีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 7 | −4 | 4 | |
3 | เอกวาดอร์ | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 6 | −2 | 3 | |
4 | เม็กซิโก | 3 | 0 | 2 | 1 | 4 | 5 | −1 | 2 |
11 มิถุนายน 2558 | |||
ชิลี | 2–0 | เอกวาดอร์ | สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก |
12 มิถุนายน 2558 | |||
เม็กซิโก | 0–0 | โบลิเวีย | สนามกีฬาเซาซาลีโต, บีญาเดลมาร์ |
15 มิถุนายน 2558 | |||
เอกวาดอร์ | 2–3 | โบลิเวีย | สนามกีฬาเอลีอัส ฟีเกโรอา, บัลปาราอีโซ |
ชิลี | 3–3 | เม็กซิโก | สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก |
19 มิถุนายน 2558 | |||
เม็กซิโก | 1–2 | เอกวาดอร์ | สนามกีฬาเอลเตเนียนเต, รังกากวา |
ชิลี | 5–0 | โบลิเวีย | สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก |
กลุ่มบี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อาร์เจนตินา | 3 | 2 | 1 | 0 | 4 | 2 | +2 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ปารากวัย | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 3 | +1 | 5 | |
3 | อุรุกวัย | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
4 | จาเมกา | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 3 | −3 | 0 |
13 มิถุนายน 2558 | |||
อุรุกวัย | 1–0 | จาเมกา | สนามกีฬาแคว้นอันโตฟากัสตา, อันโตฟากัสตา |
อาร์เจนตินา | 2–2 | ปารากวัย | สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา |
16 มิถุนายน 2558 | |||
ปารากวัย | 1–0 | จาเมกา | สนามกีฬาแคว้นอันโตฟากัสตา, อันโตฟากัสตา |
อาร์เจนตินา | 1–0 | อุรุกวัย | สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา |
20 มิถุนายน 2558 | |||
อุรุกวัย | 1–1 | ปารากวัย | สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา |
อาร์เจนตินา | 1–0 | จาเมกา | สนามกีฬาเซาซาลีโต, บีญาเดลมาร์ |
กลุ่มซี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บราซิล | 3 | 2 | 0 | 1 | 4 | 3 | +1 | 6 | รอบแพ้คัดออก |
2 | เปรู | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
3 | โคลอมเบีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 0 | 4 | |
4 | เวเนซุเอลา | 3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 3 | −1 | 3 |
14 มิถุนายน 2558 | |||
โคลอมเบีย | 0–1 | เวเนซุเอลา | สนามกีฬาเอลเตเนียนเต, รังกากวา |
บราซิล | 2–1 | เปรู | สนามกีฬาเทศบาลเคร์มัน เบเกร์, เตมูโก |
17 มิถุนายน 2558 | |||
บราซิล | 0–1 | โคลอมเบีย | สนามกีฬาอนุสรณ์ดาบิด อาเรยาโน, ซานเตียโก |
18 มิถุนายน 2558 | |||
เปรู | 1–0 | เวเนซุเอลา | สนามกีฬาเอลีอัส ฟีเกโรอา, บัลปาราอีโซ |
21 มิถุนายน 2558 | |||
โคลอมเบีย | 0–0 | เปรู | สนามกีฬาเทศบาลเคร์มัน เบเกร์, เตมูโก |
บราซิล | 2–1 | เวเนซุเอลา | สนามกีฬาอนุสรณ์ดาบิด อาเรยาโน, ซานเตียโก |
ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3
แก้อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บี | อุรุกวัย | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ซี | โคลอมเบีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 0 | 4 | |
3 | เอ | เอกวาดอร์ | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 6 | −2 | 3 |
รอบแพ้คัดออก
แก้รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
24 มิถุนายน – ซานเตียโก | ||||||||||
ชิลี | 1 | |||||||||
29 มิถุนายน – | ||||||||||
อุรุกวัย | 0 | |||||||||
ชิลี | 2 | |||||||||
25 มิถุนายน – เตมูโก | ||||||||||
เปรู | 1 | |||||||||
โบลิเวีย | 1 | |||||||||
4 กรกฎาคม – ซานเตียโก | ||||||||||
เปรู | 3 | |||||||||
ชิลี (ลูกโทษ) | 0 (4) | |||||||||
26 มิถุนายน – บีญาเดลมาร์ | ||||||||||
อาร์เจนตินา | 0 (1) | |||||||||
อาร์เจนตินา (ลูกโทษ) | 0 (5) | |||||||||
30 มิถุนายน – กอนเซปซีออน | ||||||||||
โคลอมเบีย | 0 (4) | |||||||||
อาร์เจนตินา | 6 | อันดับที่สาม | ||||||||
27 มิถุนายน – กอนเซปซีออน | ||||||||||
ปารากวัย | 1 | 3 กรกฎาคม – กอนเซปซีออน | ||||||||
บราซิล | 1 (3) | |||||||||
เปรู | 2 | |||||||||
ปารากวัย (ลูกโทษ) | 1 (4) | |||||||||
ปารากวัย | 0 | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
แก้โบลิเวีย | 1–3 | เปรู |
---|---|---|
มาร์เซโล มาร์ตินส์ โมเรโน 84' (จุดโทษ) | รายงาน | ปาโอโล เกร์เรโร 20', 23', 74' |
รอบรองชนะเลิศ
แก้ชิลี | 2–1 | เปรู |
---|---|---|
เอดัวร์โด บาร์กัส 41', 63' | รายงาน | การี เมเดล 60' (เข้าประตูตัวเอง) |
อาร์เจนตินา | 6–1 | ปารากวัย |
---|---|---|
มาร์โกส โรโค 15' คาเบียร์ ปัสโตเร 27' อังเคล ดี มารีอา 47', 53' เซร์คีโอ อะกูเอโร 80' กอนซาโล อีกวาอิน 83' |
รายงาน | ลูกัส บาร์รีโอส 43' |
นัดชิงอันดับที่ 3
แก้รอบชิงชนะเลิศ
แก้อันดับดาวซัลโว
แก้- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- เลียวเนล เมสซี
- คาเบียร์ ปัสโตเร
- มาร์โกส โรโค
- โรนัลด์ รัลเดส
- มาร์ติส สเมดเบร์ก-ดาเลนเซ
- โดกลัส กอสตา
- เนย์มาร์
- โรแบร์ตู ฟีร์มีนู
- โรบินยู
- ชียากู ซิลวา
- เมารีซีโอ อิสลา
- การี เมเดล
- อาเลกซิส ซานเชซ
- เยย์ซอน มูรีโย
- เอดการ์ เบนีเตซ
- เดร์ลิส กอนซาเลซ
- เนลซอน อาเอโด บัลเดซ
- กริสเตียน กูเอบา
- คลาวดีโอ ปีซาร์โร
- โคเซ คีเมเนซ
- กริสเตียน โรดรีเกซ
- มีกู
- ซาโลมอน รอนดอน
- การทำเข้าประตูตัวเอง
- โรนัลด์ รัลเดส (ในนัดที่พบกับชิลี)
- การี เมเดล (ในนัดที่พบกับเปรู)
แหล่งที่มา : CONMEBOL.com[13]
สถิติ
แก้รางวัล
แก้- รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า:
- รางวัลดาวซัลโวสูงสุด: ปาโอโล เกร์เรโร, เอดวร์โด บาร์กัส
- รางวัลนักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยม: เยย์ซอน มูรีโย
- รางวัลผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม: เกลาดีโอ บราโบ
- รางวัลทีมแฟร์เพลย์: เปรู
ทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์
แก้ผู้รักษาประตู | กองหลัง | กองกลาง | กองหน้า | ผู้จัดการทีม |
---|---|---|---|---|
เยย์ซอน มูรีโย (โคลอมเบีย) |
คริสเตียน คูเอบา (เปรู) |
เอดวร์โด บาร์กัส (ชิลี) |
ตารางการจัดอันดับหลังจบการแข่งขัน
แก้Per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-out are counted as draws.
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ผลงานในรอบสุดท้าย |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ชิลี (H) | 6 | 4 | 2 | 0 | 13 | 4 | +9 | 14 | ชนะเลิศ |
2 | อาร์เจนตินา | 6 | 3 | 3 | 0 | 10 | 3 | +7 | 12 | รองชนะเลิศ |
3 | เปรู | 6 | 3 | 1 | 2 | 8 | 5 | +3 | 10 | อันดับที่สาม |
4 | ปารากวัย | 6 | 1 | 3 | 2 | 6 | 12 | −6 | 6 | อันดับที่สี่ |
5 | บราซิล | 4 | 2 | 1 | 1 | 5 | 4 | +1 | 7 | ตกรอบใน รอบก่อนรองชนะเลิศ |
6 | โคลอมเบีย | 4 | 1 | 2 | 1 | 1 | 1 | 0 | 5 | |
7 | อุรุกวัย | 4 | 1 | 1 | 2 | 2 | 3 | −1 | 4 | |
8 | โบลิเวีย | 4 | 1 | 1 | 2 | 4 | 10 | −6 | 4 | |
9 | เวเนซุเอลา | 3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 3 | −1 | 3 | ตกรอบใน รอบแบ่งกลุ่ม |
10 | เอกวาดอร์ | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 6 | −2 | 3 | |
11 | เม็กซิโก | 3 | 0 | 2 | 1 | 4 | 5 | −1 | 2 | |
12 | จาเมกา | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 3 | −3 | 0 |
อ้างอิง
แก้- ↑ "The Copa América Chile-2015 will be held from June 11 to July 4". CONMEBOL.com. 12 กุมภาพันธ์ 2557.
- ↑ http://www.ca2015.com/es/venue/antofagasta-la-riqueza-minera-y-el-extraordinario-desierto/16aspmm6a58bt1bm0zku6t5xvp
- ↑ http://www.ca2015.com/es/venue/la-serena-la-belleza-historica-de-una-ciudad-privilegiada/x2tictxhqsa713bp3sa1t0u9b
- ↑ http://www.ca2015.com/es/venue/vina-del-mar/1gum7ct8scawy1q0ni6zb2ob51
- ↑ http://www.ca2015.com/es/venue/valparaiso-la-joya-del-pacifico-que-se-volvio-patrimonio-de-la-humanidad/1qm7l4165msf21nnz2upgjvu5h
- ↑ 6.0 6.1 http://www.ca2015.com/es/venue/santiago-el-atractivo-de-la-gran-capital/slsaopqfgwo216xizi74oevqx
- ↑ http://www.ca2015.com/es/venue/rancagua-las-tradiciones-del-campo-chileno/1jz0igcvnx8cg12fgp0bfh8tqu
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-26. สืบค้นเมื่อ 2015-06-27.
- ↑ http://www.ca2015.com/es/venue/temuco-lo-imponente-de-los-paisajes-naturales/1aryy71rk2tlqzz95zqtucllc
- ↑ "Copa América fixture list announced for Chile 2015". Ca2015.com.com. 2014-11-11. สืบค้นเมื่อ 2014-11-16.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อregulations
- ↑ "Vargas' double fires tournament hosts Chile into Copa América final". Copa América Chile 2015. 29 June 2015.
- ↑ "Copa America Chile 2015 — Goleadores". CONMEBOL.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2015-06-27.
- ↑ "Copa América 2015 - Team of the tournament". สืบค้นเมื่อ 5 July 2015.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Copa América Chile 2015 (เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ) (อังกฤษ)
- Copa América 2015, CONMEBOL.com (สเปน)