สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน

กฎหมายทั่วโลกเกี่ยวกับความสัมพันธ์และเสรีภาพในการแสดงออกร่วมเพศ
มีเพศสัมพันธ์ร่วมเพศไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีโทษ:
  ประหารชีวิต แต่ไม่บังคับใช้
  จำคุก
  จำคุก แต่ไม่บังคับใช้1
  ถูกทหารอาสาสมัครฆ่า
  ถูกกักขังแต่ไม่ดำเนินคดี
มีเพศสัมพันธ์ร่วมเพศชอบด้วยกฎหมาย การยอมรับการอยู่กินด้วยกัน:
  สมรสนอกดินแดน3
  เฉพาะคนต่างด้าว
  คำรับรองเป็นลายลักษณ์อักษรที่เลือกได้
  ไม่ยอมรับ
  ยังมีข้อจำกัดในการแสดงออก
วงแหวนระบุพื้นที่ซึ่งผู้พิพากษาท้องถิ่นอนุญาตหรือปฏิเสธการสมรสหรือกำหนดโทษประหารชีวิตในเขตอำนาจศาลซึ่งไม่ใช่กฎหมายหรือพื้นที่ซึ่งใช้แบบกรณี ๆ ไป
1ไม่มีการจับกุมในสามปีหลังสุด หรือมีการผ่อนเวลากฎหมาย
2กฎหมายอาจยังไม่มีผลบังคับในบางเขตอำนาจ
3ไม่มีการสมรสในท้องถิ่น บางเขตอำนาจอาจจัดการครองคู่ (partnership) แบบอื่น
สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในสหประชาชาติ
  
สนับสนุน ประเทศซึ่งลงนามปฏิญญาสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศหรือสนับสนุนข้อมติสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเมื่อปี 2554 ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน (เดิมสมาชิก 96 ประเทศ, ปัจจุบัน 99 ประเทศ)
  
คัดค้าน ประเทศซึ่งลงนามแถลงการณ์คัดค้านสิทธิกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศปี 2551 (เดิมสมาชิก 57 ประเทศ, ปัจจุบัน 51 ประเทศ)
  
ไม่สนับสนุนหรือคัดค้าน ประเทศเกี่ยวข้องกับสหประชาชาติซึ่งทั้งไม่สนับสนุนและคัดค้านสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (44 ประเทศ)
  
ไม่เป็นสมาชิกสหประชาชาติ ประเทศซึ่งไม่เป็นสมาชิกสหประชาชาติ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศหรือดินแดน ตั้งแต่การรับรองการสมรสเพศเดียวกันตามกฎหมายหรือคู่ชีวิตในรูปแบบอื่น จนถึงโทษประหารชีวิตสำหรับกิจกรรมทางเพศหรือการแสดงออกของบุคคลเพศเดียวกัน

สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศถูกจัดว่าเป็นสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง ซึ่งประกอบไปด้วย แต่ไม่จำกัดเพียง:

  • การอนุญาตให้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) บริจาคเลือด
  • การรับรองความสัมพันธ์ของบุคคลเพศเดียวกันโดยรัฐบาล (เช่น การสมรสเพศเดียวกันหรือคู่ชีวิตเพศเดียวกัน)
  • การอนุญาตให้กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศรับบุตรบุญธรรม
  • การรับรองกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในการเป็นผู้ปกครอง
  • กฎหมายคุ้มครองการถูกรังแกและการคุ้มครองการเลือกปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน หรือนักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ
  • กฎหมายเกี่ยวกับคนเข้าเมืองอย่างเท่าเทียมกัน
  • กฎหมายป้องกันการเลือกปฏิบัติทางการจ้างและการอยู่อาศัย
  • กฎหมายป้องกันอาชญากรรมที่มาจากความเกลียดชัง โดยมีการเสริมโทษทางอาญาสำหรับความรุนแรงสืบเนื่องมาจากอคติต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
  • กฎหมายเกี่ยวกับอายุที่รับรู้ยินยอมที่เท่ากัน
  • การเข้าถึงเทคโนโลยีช่วยเหลือการปฏิสนธิอย่างเท่าเทียมกัน
  • การเข้าถึงการผ่าตัดแปลงเพศและการรักษาเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนทางการแพทย์
  • การรับรองการแปลงเพศทางกฎหมาย
  • และกฎหมายเกี่ยวกับเพศวิถีและการรับราชการทางทหาร

ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 ประเทศกว่า 21 ประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศอยู่ในทวีปอเมริกาและยุโรปตะวันตก ได้รับรองการสมรสเพศเดียวกันและให้สิทธิต่าง ๆ ที่กล่าวไว้เบื้องต้นแก่กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

ความเป็นมาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

แก้

แผนที่สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

แก้
กฎหมายเกี่ยวกับบุคคลรักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
กฎหมายทั่วโลกเกี่ยวกับความสัมพันธ์และเสรีภาพในการแสดงออกร่วมเพศ
มีเพศสัมพันธ์ร่วมเพศไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีโทษ:
  ประหารชีวิต แต่ไม่บังคับใช้
  จำคุก
  จำคุก แต่ไม่บังคับใช้1
  ถูกทหารอาสาสมัครฆ่า
  ถูกกักขังแต่ไม่ดำเนินคดี
มีเพศสัมพันธ์ร่วมเพศชอบด้วยกฎหมาย การยอมรับการอยู่กินด้วยกัน:
  สมรสนอกดินแดน3
  เฉพาะคนต่างด้าว
  คำรับรองเป็นลายลักษณ์อักษรที่เลือกได้
  ไม่ยอมรับ
  ยังมีข้อจำกัดในการแสดงออก
วงแหวนระบุพื้นที่ซึ่งผู้พิพากษาท้องถิ่นอนุญาตหรือปฏิเสธการสมรสหรือกำหนดโทษประหารชีวิตในเขตอำนาจศาลซึ่งไม่ใช่กฎหมายหรือพื้นที่ซึ่งใช้แบบกรณี ๆ ไป
1ไม่มีการจับกุมในสามปีหลังสุด หรือมีการผ่อนเวลากฎหมาย
2กฎหมายอาจยังไม่มีผลบังคับในบางเขตอำนาจ
3ไม่มีการสมรสในท้องถิ่น บางเขตอำนาจอาจจัดการครองคู่ (partnership) แบบอื่น
สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในสหประชาชาติ
  สนับสนุน
ประเทศซึ่งลงนามปฏิญญาสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศหรือสนับสนุนข้อมติสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเมื่อปี 2554 ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (96 ประเทศ/ดินแดน)
  คัดค้าน
ประเทศซึ่งลงนามแถลงการณ์คัดค้านสิทธิกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศปี 2551 (เดิม 57 ประเทศ/ดินแดน, ปัจจุบัน 54 ประเทศ/ดินแดน หลังจากประเทศฟีจี ประเทศรวันดา และเซียร์ราลีโอนถอนตัว)
  งดออกเสียง
ประเทศเกี่ยวข้องกับสหประชาชาติซึ่งทั้งไม่สนับสนุนและคัดค้านสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (44 ประเทศ/ดินแดน)
กฎหมาย "การโฆษณาชวนเชื่อ" และ "ศีลธรรม" เกี่ยวกับบุคคลรักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
กฎหมาย "การโฆษณาชวนเชื่อ" และ "ศีลธรรม" เกี่ยวกับบุคคลรักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
  ประเทศหรือดินแดนที่ไม่มีกฎหมาย "การโฆษณาชวนเชื่อ" และ "ศีลธรรม" เกี่ยวกับบุคคลรักเพศเดียวกัน
  โทษปรับ[1]
  ไม่ทราบบทลงโทษ
  จำคุก
การเลิกลักษณะอาชญากรรมในการร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
  1790–1799
  1800–1819
  1820–1829
  1830–1839
  1840–1859
  1860–1869
  1870–1879
  1880–1889
  1890–1909
  1910–1919
  1920–1929
  1930–1939
  1940–1949
  1950–1959
  1960–1969
  1970–1979
  1980–1989
  1990–1999
  2000–2009
  2010–ปัจจุบัน
  ไม่ทราบวันที่ที่การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันถูกต้องตามกฎหมาย
  การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันชอบด้วยกฎหมายมาโดยตลอด
  การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมาย
  การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การปรับกฎหมายเกี่ยวกับอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้สำหรับคู่รักเพศเดียวกันให้เท่าเทียมตามประเทศหรือดินแดน
  1790–1829
  1830–1839
  1840–1859
  1860–1869
  1870–1879
  1880–1889
  1890–1929
  1930–1939
  1940–19491
  1950–1959
  1960–1969
  1970–1979
  1980–1989
  1990–1999
  2000–2009
  2010–ปัจจุบัน
  ไม่ทราบวันที่ที่มีการปรับอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ของคู่รักเพศเดียวกันให้เท่ากับคู่รักต่างเพศ
  ไม่มีอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้หรืออายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้นั้นเท่ากันระหว่างคู่รักเพศเดียวกันให้เท่ากับคู่รักต่างเพศมาโดยเสมอ
  อายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้สำหรับคู่รักเพศเดียวกันนั้นแตกต่างออกไป
  การร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันไม่ชอบด้วยกฎหมาย
1ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีได้ผนวกดินแดนหรือจัดตั้งไรชส์ค็อมมิสซารีอาทขึ้น ซึ่งเป็นการขยายกฎหมายต่อต้านการร่วมเพศของบุคคลรักเพศเดียวกันของเยอรมนีออกไปยังดินแดนต่าง ๆ และไรชส์ค็อมมิสซารีอาทด้วย ก่อนหน้านั้นอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ของบุคคลรักเพศเดียวกันมีความเท่าเทียมอยู่แล้วในประเทศหรือดินแดนต่าง ๆ ก่อนหน้าการผนวกดินแดนหรือการจัดตั้งไรชส์ค็อมมิสซารีอาทของเยอรมนี ดังนี้ เบลลูโน (ชอบด้วยกฎหมายในปี 1890) แคว้นฟรียูลี-เวเน็ตเซียจูเลีย (ชอบด้วยกฎหมายในปี 1890) โปแลนด์ (ชอบด้วยกฎหมายมาโดยตลอด ยืนยันในปี 1932) และแคว้นเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ (ชอบด้วยกฎหมายในปี 1890) ทุกประเทศและดินแดนดังกล่าวที่ถูกผนวกหรือจัดตั้งไรชส์ค็อมมิสซารีอาทโดยนาซีเยอรมนีในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อได้รับเอกราชหรือเข้าร่วมกับประเทศดั้งเดิมของตนก่อนหน้าในระหว่างก่อนและหลังสงครามแล้ว จึงได้มีการทำให้อายุอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ของบุคคลรักเพศเดียวกันเท่ากันกับคู่รักต่างเพศอีกครั้ง
สถานะชอบด้วยกฎหมายของการสมรสเพศเดียวกัน
  เปิดให้มีการจดทะเบียนสมรสกับคู่รักเพศเดียวกัน (วงแหวน: รายกรณี)
  เขตอำนาจศาลแบบผสม: การจดทะเบียนสมรสได้รับการรับรองโดยรัฐ แต่ไม่ได้รับการรับรองโดยรัฐบาลชนเผ่าสำหรับพลเมืองซึ่งเป็นสมาชิกของเผ่า
  กฎหมายหรือคำตัดสินของศาลในประเทศตัดสินให้มีการจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกัน แต่ยังมิได้จัดให้มีการจดทะเบียนสมรสนั้นมาก่อน
  การจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกันได้รับการรับรองอย่างเต็มสิทธิ เมื่อมีการดำเนินการในเขตอำนาจศาลอื่น
  ใช้คำสั่งศาลเพื่อให้มีการรับรองซึ่งยังมิได้ทดสอบ (ประเทศอาร์มีเนีย)
  ทะเบียนคู่ชีวิตหรือการอยู่กินด้วยกัน
  รับรองตามกฎหมายอย่างจำกัด (ทะเบียนคู่ชีวิต)
  ในรับรองส่วนท้องถิ่นซึ่งไม่มีผลทางกฎหมาย
  การรับรองการจดทะเบียนสมรสที่กระทำในเขตอำนาจศาลอื่นอย่างจำกัด (สิทธิในการอยู่อาศัยสำหรับคู่สมรส)
  ประเทศที่อยู่ภายใต้คำตัดสินของศาลระหว่างประเทศให้รับรองการจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกัน
  ประเทศอื่น ๆ ซึ่งไม่รับรองการจดทะเบียนของบุคคลรักเพศเดียวกัน
สถานะชอบด้วยกฎหมายของคู่รักเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
  อนุญาตให้รับบุตรบุญธรรมร่วมกันได้
  อนุญาตให้รับบุตรบุญธรรมโดยคู่สมรสคนใดคนหนึ่งได้
  ไม่มีกฎหมายที่อนุญาตให้มีการรับบุตรบุญธรรมของคู่รักเพศเดียวกัน
การรับราชการทหารของชาติของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศตามประเทศหรือดินแดน[ต้องการอ้างอิง]
  กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศทุกคนสามารถรับราชการทหารได้
  เพศชายที่เป็นเกย์ ไบ หรือคนข้ามเพศสามารถรับราชการทหารได้
  เลสเบียน เกย์ และไบสามารถรับราชการทหารได้
  เพศชายที่เป็นเกย์และไบสามารถรับราชการทหารได้
  กำกวม/ไม่ทราบนโยบาย
  กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศถูกห้ามมิให้รับราชการทหาร
  ไม่มีทหาร
กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานเนื่องจากรสนิยมทางเพศหรือเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  รสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์: การจ้างงานทั้งหมด
  รสนิยมทางเพศมีกฎหมายว่าด้วยการต่อต้านการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน และเพศเอกลักษณ์ในการจ้างงานของรัฐเท่านั้น
  รสนิยมทางเพศ: การจ้างงานทั้งหมด
  เพศเอกลักษณ์: การจ้างงานทั้งหมด
  รสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์: การจ้างงานของรัฐบาลกลาง
  รสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์: การจ้างงานของรัฐ
  รสนิยมทางเพศ: การจ้างงานของรัฐ
  ไม่มีกฎหมายการจ้างงานระดับประเทศที่ครอบคลุมรสนิยมทางเพศหรือเพศเอกลักษณ์
กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อรสนิยมทางเพศและ/หรือเพศเอกลักษณ์ในสินค้าและบริการตามประเทศหรือดินแดน
ประเทศหรือดินแดนที่มีกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในสินค้าและบริการ
  ครอบคลุมรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  ครอบคลุมรสนิยมทางเพศ
  ครอบคลุมเพศเอกลักษณ์
  ไม่มีกฎหมายระดับประเทศหรือท้องถิ่นเกี่ยวกับการต่อต้านการเลือกปฏิบัติที่ครอบคลุมรสนิยมทางเพศและ/หรือเพศเอกลักษณ์ในสินค้าและบริการ
กฎหมายรัฐธรรมนูญต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศและ/หรือเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  ครอบคลุมรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  ครอบคลุมรสนิยมทางเพศ
  ครอบคลุมเพศเอกลักษณ์
  ไม่มีกฎหมายรัฐธรรมนูญระดัยชาติหรือท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการต่อต้านการเลือกปฏิบัติที่ครอบคลุมรสนิยมทางเพศและ/หรือเพศเอกลักษณ์
กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังเกี่ยวกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศตามประเทศหรือดินแดน
  มีกฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังในรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  มีกฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังในรสนิยมทางเพศ
  ไม่มีกฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
การห้ามการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังเนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  การห้ามการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังเนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  การห้ามการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังเนื่องจากรสนิยมทางเพศ
  ไม่มีการห้ามการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังเนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
ห้ามการบำบัดแก้เพศวิถีสำหรับผู้เยาว์เนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  ห้ามการบำบัดแก้เพศวิถีเนื่องจากรสนิยมทางเพศและเพศเอกลักษณ์
  ห้ามการบำบัดแก้เพศวิถีโดยพฤตินัย
  ห้ามเป็นรายกรณี
  มีการเสนอให้ห้ามการบำบัดแก้เพศวิถี
  ไม่มีการห้ามการบำบัดแก้เพศวิถี
การเข้าเมืองเท่าเทียมของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศตามประเทศหรือดินแดน[ต้องการอ้างอิง]
  รับรองคู่รักเพศเดียวกันในกฎหมายการเข้าเมืองระดับประเทศ
  ไม่ทราบ/กำกวม
การห้ามการอยู่กินด้วยกันของบุคคลเพศเดียวกันตามประเทศหรือดินแดน
  ไม่มีข้อห้ามเฉพาะของการอยู่กินด้วยกันหรือการสมรสเพศเดียวกัน
  รัฐธรรมนูญห้ามการสมรสเพศเดียวกัน
  รัฐธรรมนูญบัญญัติตามกฎหมายอิสลามหรือห้ามการละเมิด "ศีลธรรมของอิสลาม"
นโยบายการรับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชายตามประเทศหรือดินแดน
นโยบายการรับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย
  รับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; ไม่มีการจำกัดสิทธิ์
  รับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; จำกัดสิทธิ์ชั่วคราว
  ไม่รับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; จำกัดสิทธิ์ถาวร
  ไม่มีข้อมูล
นโยบายการรับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชายตามประเทศหรือดินแดน
นโยบายการรับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย
  รับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; ไม่มีการจำกัดสิทธิ์
  รับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; จำกัดสิทธิ์ชั่วคราว
  ไม่รับเลือดบริจาคจากผู้หญิงที่เป็นคู่นอนของผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย; จำกัดสิทธิ์ถาวร
  ไม่มีข้อมูล
กฎหมายเกี่ยวกับการแสดงเพศเอกลักษณ์ตามประเทศหรือดินแดน
  การเปลี่ยนเพศเอกลักษณ์ชอบด้วยกฎหมาย ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัด
  การเปลี่ยนเพศเอกลักษณ์ชอบด้วยกฎหมาย จำเป็นต้องมีการผ่าตัด
  การเปลี่ยนเพศเอกลักษณ์ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
  ไม่ทราบ/กำกวม
การรับรองตามกฎหมายของเพศนอนไบนารีและเพศที่สาม
  มีตัวเลือกสำหรับนอนไบนารี/เพศที่สาม
  มีตัวเลือกให้เฉพาะสำหรับกะเทยเท่านั้น
  มีมาตรฐานสำหรับเพศที่สาม
  มีมาตรฐานสำหรับกะเทย
  นอนไบนารี/เพศที่สามไม่ถูกรับรองตามกฎหมาย / ไม่มีข้อมูล

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน

แก้

ทวีปแอฟริกา

แก้
รายการประเทศหรือดินแดนตามสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทวีปแอฟริกา

แอฟริกาเหนือ

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แอลจีเรีย แอลจีเรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2509
การลงโทษ: ปรับและจำคุกสูงสุด 2 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
แม่แบบ:Country data แคว้นกานาเรียส กานาเรียส
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินชอบด้วยกฎหมายโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2546[4] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[5] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[6]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[7]
ใช่ สเปนเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[9]
เซวตา เซวตา
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินชอบโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2541[10] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[11] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[12] ใช่ สเปนเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[9]
อียิปต์ อียิปต์ ใช่/ไม่ ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายโดยนิตินัย แต่ไม่ชอบด้วยกฎหมายโดยพฤตินัย ตั้งแต่ 2549
การลงโทษ: จำคุกสูงสุดถึง 17 ปีและ/หรือการใช้แรงงานอย่างหนักและ/หรือปรับตามกฎหมายว่าด้วยศีลธรรมอันดีงามที่ถูกตราขึ้น
ไม่ชัดเจนในเพศหญิง[2][14]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ลิเบีย ลิเบีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2496[15] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มาเดรา มาเดรา
(แคว้นปกครองตนเองของโปรตุเกส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2544[16][17] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[18] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 (+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[19][20][21] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[8] ใช่ ตั้งแต่ 2554 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[22]
เมลียา เมลียา
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2551[23] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[11] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[12] ใช่ สเปนรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[9]
โมร็อกโก โมร็อกโก
(รวมถึงจังหวัดทางใต้)
ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[2][24]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี
(ไม่รวมถึงจังหวัดทางใต้)
ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2487 (ในขณะเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นโพ้นทะเลสเปนซาฮารา)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[2][25][26]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ซูดานใต้ เซาท์ซูดาน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442 (ในขณะเป็นอังกโลอียิปต์ซูดาน)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 10 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ปี 2554 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ซูดาน ซูดาน ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442 (ในขณะเป็นอังกโลอียิปต์ซูดาน)
การลงโทษ: ประหารชีวิตในผู้ชายที่ทำผิดเป็นครั้งที่สามและในผู้หญิงที่ทำผิดเป็นครั้งที่สี่[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ตูนิเซีย ตูนิเซีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2456 (ในขณะเป็นตูนิเซียในคุ้มกันของฝรั่งเศส)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[2][27]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

แอฟริกาตะวันตก

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบนิน เบนิน ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);[2][28]
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
บูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2] ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามไว้ตั้งแต่ 2534 ไม่ ไม่
กาบูเวร์ดี กาบูเวร์ดี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2547
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2]
ประเทศแกมเบีย แกมเบีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2431 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนในอารักขาและอาณานิคมแกมเบีย)
โทษ: จำคุกถึงตลอดชีวิต[2][29][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กานา กานา ไม่ ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ช่วงปี 2403 (เป็นส่วนหนึ่งของโกลด์โคสต์)
โทษ: จำคุก 10 ปี หรือมากกว่า
ใช่ Female always Legal[2][30][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กินี กินี ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2531
โทษ: จำคุก 6 เดือนถึง 3 ปี[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กินี-บิสเซา กินี-บิสเซา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536[2]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ไลบีเรีย ไลบีเรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2519
โทษ: จำคุก 1 ปี[2][31]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มาลี มาลี ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มอริเตเนีย มอริเตเนีย ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
โทษ: ประหารชีวิตโดยการขว้างหิน[2][32]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ไนเจอร์ ไนเจอร์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ไนจีเรีย ไนจีเรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายสหพันธรัฐตั้งแต่ 2444 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขานอร์ทเทิร์นไนจีเรีย และ ดินแดนอารักขาเซาท์เทิร์นไนจีเรีย)
โทษ: จำคุกสูงสุดถึง 14 ปี ไม่ มีโทษประหารในรัฐบาอูชี, เบอร์โน, กอมเบ, จิกาวา, กาดูนา, กาโน, กัตซินา, เกบบี, ไนเจอร์, โซโกโต, โยเบ, และซัมฟารา[2][33][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เซเนกัล เซเนกัล ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2509
โทษ: จำคุก 1 ถึง 5 ปี[2][34]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เซียร์ราลีโอน เซียร์ราลีโอน ไม่ ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2404 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาและอาณานิคมเซียร์ราลีโอน)
โทษ: จำคุกตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โตโก โตโก ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2427 (เมื่อครั้งเป็นดินแดนอารักขาโตโกแลนด์)
โทษ: ปรับ และจำคุก 3 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

แอฟริกากลาง

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แคเมอรูน แคเมอรูน ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2515
โทษ: ปรับ และจำคุกสูงสุด 5 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2559[35] ไม่ ไม่
ชาด ชาด ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560
โทษ: จำคุก 3 เดือนถึง 2 ปี
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2] ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548 ไม่ ไม่
อิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
กาบอง กาบอง ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐคองโก สาธารณรัฐคองโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เซนต์เฮเลนา เซนต์เฮเลนา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[36][37] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์
เซาตูแมอีปริงซีป เซาตูเมและปรินซีปี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

แอฟริกาตะวันออกเฉียงใต้

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
บุรุนดี บุรุนดี ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552
โทษ: จำคุก 3 เดือนถึง 2 ปี[2][38]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548 ไม่ ไม่ ไม่
เคนยา เคนยา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2440 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาแอฟริกาตะวันออก)
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[39] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
รวันดา รวันดา ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2546 ไม่ ไม่
แทนซาเนีย แทนซาเนีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2407 (เฉพาะแซนซิบาร์)
ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442
โทษ: จำคุกสูงสุดถึงตลอดชีวิต[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ยูกันดา ยูกันดา ไม่ ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2437
โทษ: จำคุกสูงสุดถึงตลอดชีวิต[40][40]
ในเพศหญิงยังคลุมเคลือ
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

จะงอยแอฟริกา

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
จิบูตี จิบูตี ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เอริเทรีย เอริเทรีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2500 (ในขณะที่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเอธิโอเปียและเอริเทรีย)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[2][41]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เอธิโอเปีย เอธิโอเปีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การลงโทษ: จำคุก 10 ปีหรือนานกว่านั้น[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โซมาเลีย โซมาเลีย ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505
การลงโทษ: สูงสุดถึงประหารชีวิต[42]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โซมาลีแลนด์ โซมาลีแลนด์ ไม่ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การลงโทษ: สูงสุดถึงประหารชีวิต[42]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่

รัฐในมหาสมุทรอินเดีย

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
คอโมโรส คอโมโรส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2525
โทษ: จำคุก 5 ปี และปรับ[2][43]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์ เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในดินแดน)[2]
ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
มาดากัสการ์ มาดากัสการ์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มอริเชียส มอริเชียส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2381 (เป็นส่วนหนึ่งของบริติชมอริเชียส)
โทษ: จำคุกสูงสุด 5 ปี
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[44]
+ ลงนามสหประชาชาติ[2][45]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[46][47]
มายอต มายอต
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในดินแดน)[2]
ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
เรอูว์นียง เรอูนียง
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 1791[2] ใช่ ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
เซเชลส์ เซเชลส์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[48]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2]

แอฟริกาใต้

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แองโกลา แองโกลา ไม่ โดยพฤตินัย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2429 (เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดแองโกลา)
โทษ: ปรับ กักกัน หรือ ลงอาญาด้วยการใช้แรงงาน (ไม่บังคับใช้)[2][49]
กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย[50][51]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[52] อาจมีการเปลี่ยนแปลงเพศได้ตาม Código do Registro Civil 2015[53]
บอตสวานา บอตสวานา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2428 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาเบชัวนาแลนด์)
โทษ: ปรับ หรือ จำคุกสูงสุด 7 ปี (ไม่บังคับใช้)[2][3]
กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย[54]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ รัฐธรรมนูญรับรองการเปลี่ยนแปลงเพศโดยชอบตั้งแต่ 2560[55]
เอสวาตินี สวาซิแลนด์ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ช่วงปี 2423
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เลโซโท เลโซโท ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2555
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิงมาโดยตลอด[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ อาจเปลี่ยนแปลงเพศได้ตาม มาตรา 9 แห่งรัฐบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน ค.ศ. 2011[56]
มาลาวี มาลาวี ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2434 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาไชร์ไฮแลนด์และเขตอารักขาเนียซาแลนด์)
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปีและเฆี่ยน (กฎหมายดังกล่าวถูกระงับการใช้งานตั้งแต่ 2555)[2][57][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
โมซัมบิก โมซัมบิก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[58][59] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2][46]
นามิเบีย นามิเบีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2463 (เป็นส่วนหนึ่งของแอฟริกาตะวันตก-ใต้)[3]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิงมาโดยตลอด[2][60][61]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ตาม มาตรา 81 แห่งรัฐบัญญัติการจดทะเบียนเกิด สมรส และตาย ค.ศ. 1963[62]
แอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2541
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การรับรู้การเป็นหุ้นส่วนชีวิตโดยจำกัดแบบไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2541; การสมรสเพศเดียวกันตั้งแต่ 2549 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2549 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2545 ใช่ ตั้งแต่ 2541 ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติตีความรวมถึงอัตลักษณ์ทางเพศด้วย; การเปลี่ยนเพศโดยชอบอาจเกิดขึ้นได้หลังการผ่าตัดหรือกระบวนการทางการแพทย์
แซมเบีย แซมเบีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2454 (เป็นส่วนหนึ่งของบริษัทบริติชเซาท์แอฟริกาปกครองแห่งโรดีเซีย)
โทษ: จำคุกถึง 14 ปี[2][3]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
ซิมบับเว ซิมบับเว ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2434 (เป็นส่วนหนึ่งของบริษัทบริติชเซาท์แอฟริกาปกครองแห่งโรดีเซีย)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2][3]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2556 ไม่ ไม่ ไม่

ทวีปอเมริกา

แก้
รายการประเทศหรือดินแดนตามสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทวีปอเมริกา

อเมริกาเหนือ

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบอร์มิวดา เบอร์มิวดา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2537 (อายุที่ยินยอม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[63] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[64] ใช่ สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[65] ไม่
แคนาดา แคนาดา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2512 (อายุที่ยินยอมและห้ามมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักในบางกรณี)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2][66]
ใช่ หุ้นส่วนชีวิตในครอบครัวในรัฐโนวาสโกเชีย (2544)[67];
ทะเบียนคู่ชีวิตในรัฐควิเบก (2545)[68];
ความสัมพันธ์ซึ่งพึ่งพาอาศัยกันในผู้ใหญ่ในรัฐแอลเบอร์ตา (2546)[69];
ความสัมพันธ์ทางกฎหมายจารีตประเพณีในรัฐแมนิโทบา (2547)[70]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายบางรัฐและดินแดนตั้งแต่ปี 2546
ทั้งประเทศตั้งแต่ปี 2548
[71]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายบางรัฐและดินแดนตั้งแต่ปี 2539 ทั้งประเทศตั้งแต่ปี 2550[72] ใช่ ตั้งแต่ 2535[73] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติและการประทุษวาจา การพยาธิวิทยาหรือการพยายามบำบัดทางรสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายในรัฐแมนิโทบาและรัฐออนแทรีโอตั้งแต่ 2558 (เสนอแล้วในเขตอำนาจศาลอื่น) ใช่ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนอัตลักษณ์หรือการแสดงออกทางเพศของตนและชื่อได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดแปลงเพศ และการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจนรวมถึงการคุ้มครองอัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศตั้งแต่ 2560[74][75][76][77]
กรีนแลนด์ กรีนแลนด์
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเดนมาร์ก)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2476
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2539[78] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 ใช่ การรับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2552[79] Joint adoption since 2016.[80] ใช่ ตั้งแต่ 2521 (ความรับผิดชอบของเดนมาร์ก) ใช่/ไม่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ไม่
เม็กซิโก เม็กซิโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2414
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่/ไม่ การจดทะเบียนคู่ชีวิตในเม็กซิโกซิตี (2550), รัฐโกอาวีลา (2550),[81] รัฐโกลีมา (2556),[82] รัฐกัมเปเช (2556),[83] รัฐฮาลิสโก (2557)[84] ใช่/ไม่ ชอบด้วยกฎหมายในเม็กซิโกซิตี (2553),[85] รัฐกินตานาโร (2555),[86] รัฐโกอาวีลา (2557), รัฐชีวาวา (2558), รัฐเกร์เรโร (2558), รัฐนายาริต (2558), รัฐฮาลิสโก (2016), รัฐกัมเปเช (2016), รัฐมิโชอากัง (2559), รัฐโกลีมา (2559), รัฐโมเรโลส (2559)
รัฐทั้งหมดต้องให้เกียรติการสมรสเพศเดียวกันในรัฐที่ชอบด้วยกฎหมาย[85]
(เสนอทั่วประเทศแล้ว)[87][88]

ศาลสูงสุดประกาศว่าการปฏิเสธทะเบียนสมรสของคู่รักเพศเดียวกันในทุกรัฐถือว่าเป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ[89] แต่เนื่องจากรัฐธรรมนูญของรัฐนั้นเป็นโมฆะคำสั่งแต่ละกรณีจะต้องมาจากศาล[90][91]

ใช่/ไม่ ชอบด้วยกฎหมายอย่างชัดเจนในเม็กซิโกซิตี (2553)[92], รัฐโกอาวีลา (2557), รัฐมิโชอากัง (2559), รัฐโกลีมา (2559) [93]
ทั่วประเทศ คู่รักเพศเดียวกันที่สมรสแล้วอาจรับบุตรบุญธรรมได้[94]
ใช่ ใช่ รัฐธรรมนูญต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[95] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศของตนและชื่อได้อย่างชอบด้วยกฎหมายในเม็กซิโกซิตีตั้งแต่ 2551[96] เม็กซิโกได้ลงมติยอมรับพิธีสารชอบด้วยกฎหมายสำหรับอัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศในปี 2557 ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อปกป้องสิทธิและความเท่าเทียมกันของพลเมืองทุกคน[97]
แซ็งปีแยร์และมีเกอลง
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[100] ใช่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายแห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ 2560 การทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศได้ถูกยกเลิกไปแล้ว[101]
สหรัฐ สหรัฐอเมริกา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2505 ทั้งประเทศตั้งแต่ 2546
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ หุ้นส่วนชีวิตในครอบครัวในรัฐแคลิฟอร์เนีย (2542),[102] วอชิงตัน ดี.ซี. (2545),[103] รัฐเมน (2547),[104] รัฐออริกอน (2551),[105] รัฐแมริแลนด์ (2551),[106] รัฐวิสคอนซิน (2552)[107] and รัฐเนวาดา (2552)[108];
การจดทะเบียนคู่ชีวิตในรัฐนิวเจอร์ซีย์ (2550),[109] รัฐอิลลินอยส์ (2554),[110] รัฐฮาวาย (2555),[111] และรัฐโคโลราโด (2556)[112]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2547
ทั่วประเทศตั้งแต่ 2555
ยกเว้นอเมริกันซามัวและบางอำนาจศาลชนเผ่า[113][114]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2536
ทั่วประเทศตั้งแต่ 2558 ยกเว้นอเมริกันซามัว[114]
ใช่/ไม่ ตั้งแต่ 2554[115][116] ใช่/ไม่ คำสั่งของรัฐบาลกลางห้ามมิให้มีการเลือกปฏิบัติต่อรสนิยมทางเพศของพนักงานในพนักงานพลเรือนของรัฐบาล พร้อมกับการจ้างงานของวอชิงตัน ดี.ซี. และบริการไปรษณีย์สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ 2541 (ดูที่ คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 12968 และ คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 13087) การพยาธิวิทยาหรือการพยายามบำบัดทางรสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐ (มีการห้ามในรัฐแคลิฟอร์เนีย รัฐคอนเนตทิคัต รัฐอิลลินอยส์ รัฐนิวเม็กซิโก รัฐเวอร์มอนต์ รัฐนิวยอร์ก รัฐเนวาดา รัฐนิวเจอร์ซีย์ รัฐออริกอน รัฐโรดไอแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และในบางเมืองเช่น ไมอามีบลีช ซินซินแนติ พิตต์สเบิร์ก และ ซีแอตเทิล) รวมอยู่ในกฎหมายอาชญากรรมการเกลียดชังของรัฐบาลกลางตั้งแต่ 2552
(การเลือกปฏิบัติในรสนิยมทางเพศในการจ้างงานทั้งในสาธารณะและส่วนบุคคล)
ใช่/ไม่ การเลือกปฏิบัติต่ออัตลักษณ์ทางเพศในการจ้างงานและการประกันสุขภาพถูกห้ามตั้งแต่ปี 2555[117][118] รวมอยู่ในกฎหมายอาชญากรรมการเกลียดชังของรัฐบาลกลางตั้งแต่ 2552 การเลือกปฏิบัติต่อรสนิยมทางเพศในการจ้างงานถูกห้ามตั้งแต่ปี 2558[119]
(การเลือกปฏิบัติในรสนิยมทางเพศในการจ้างงานทั้งในสาธารณะและส่วนบุคคล)

อเมริกากลาง

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบลีซ เบลีซ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[120] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ มาตรา 16(3) แห่งรัฐธรรมนูญตราไว้ว่าให้ต่อต้านอาชญากรรมซึ่งมีรากฐานจากเพศ เชื้อชาติ สถานที่เกิด ความคิดเห็นทางการเมือง ลักษณะภายนอกหรือหลักความเชื่อ[121] The ruling overturning Section 53 of the criminal code specifically stated "sex" as mentioned in Section 16(3) of the constitution, includes sexual orientation.[122][123] ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้โดยชอบโดยมิต้องผ่านการศัลยกรรม

ไม่ การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต[124]

คอสตาริกา คอสตาริกา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2514
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่รวมกันโดยไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2557;
(เตรียมการจดการอยู่กินโดยฑฤตินัย)[125][126]
ไม่ (รอคำพิพากษาของศาล) ไม่(รอคำพิพากษาของศาล) แอลจีบีทีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[127] ไม่มีทหาร ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้โดยชอบโดยมิต้องผ่านการศัลยกรรมหรือผ่านการอนุญาตโดยกฎหมายตั้งแต่ 2561[128]

ไม่ การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต

เอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ช่วงปี 2343
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ (กำลังเตรียมการบัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญ) [129] ไม่ (กำลังเตรียมการบัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญ) [129] ใช่[130] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[130] ใช่ ต่อต้านอาขญากรรมที่ขึ้นกับอัตลักษณ์ทางเพศ[131][132]

ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมาย โดยต้องมีการอนุญาตทางกฎหมาย

ไม่ การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต[133]

ประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 1800s
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ มีข้อยกเว้นแค่ Código de la Niñez y la Juventud (รหัสเรียกเด็กและเยาวชน), ได้รับการอนุมัติใน 2540, ซึ่งเพื่อช่วยปกป้องเด็กและเยาวชนจากปัญหาการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของปัจจัยต่าง ๆ รวมทั้งรสนิยมทางเพศทั้งของตนเองและบุพการี ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมาย โดยต้องมีการอนุญาตทางกฎหมาย[134]

ไม่ การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต

ฮอนดูรัส ฮอนดูรัส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ บัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2548[135][136] ไม่ บัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2548[135][136] ไม่ ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ รวมถึงการประทุษวาจาด้วย[137] ใช่ ต่อต้านอาขญากรรมที่ขึ้นกับอัตลักษณ์ทางเพศ[2]

ไม่ทราบว่าการเปลี่ยนแปลงเพศชอบด้วยกฎหมายหรือไม่

นิการากัว นิการากัว ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2551
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ไม่
ปานามา ปานามา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2551
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ (รอคำพิพากษาของศาล) ไม่ (รอคำพิพากษาของศาล) ไม่ ไม่มีทหาร ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[138]

(Anti-discrimination law proposed).[139]

ใช่ บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมายหลังจากการผ่าตัดแปลงเพศเสร็จสิ้นแล้ว ตั้งแต่ 2549[140] Legal name change, without surgeries, is allowed since 2016.[141]

แคริบเบียน

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แองกวิลลา แองกวิลลา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
แอนทีกาและบาร์บิวดา แอนติกาและบาร์บูดา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 15 ปี (ไม่บังคับใช้)[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
อารูบา อารูบา
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ จดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2559[142] ไม่/ใช่ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[143] ไม่ ใช่ เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
ประเทศบาฮามาส บาฮามาส ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534;
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่[2] ไม่ ไม่
บาร์เบโดส บาร์เบโดส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)[2] กำลังดำเนินการให้ชอบด้วยกฎหมาย
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[144] ไม่
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์แคริบเบียน
(โบแนเรอ, ซาบา และ ซินต์เอิสตาซียึส เป็นเทศบาลพิเศษของเนเธอร์แลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในเทศบาลเหล่านี้)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่[145] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555[146] ใช่[147] ใช่ เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[148] ใช่[149]
หมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544; มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[2]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่/ใช่ คู่รักเพศเดียวกันได้รับการยอมรับเพื่อจุดประสงค์ในการเข้าเมืองตั้งแต่ 2559 ไม่ กำลังเตรียมคำพิพากษาของศาล[150] ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
คิวบา คิวบา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2519; กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ ใช่[2] ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[151][152] ใช่ บุคคลข้ามเพศได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนแปลงเพศได้ภายหลังจากการดำเนินการทางเพศ[153]
กูราเซา กือราเซา
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ กำลังดำเนินการ ไม่/ใช่ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[143] ไม่ ใช่ เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
ดอมินีกา ดอมินีกา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 10 ปี หรือกักขังในสถาบันจิตวิทยา (ไม่บังคับใช้)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2365
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[154] ไม่ ไม่[155] ไม่ ไม่
กรีเนดา เกรเนดา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
กัวเดอลุป กัวเดอลุป
(จังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
เฮติ ไฮติ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334 (ในฐานะเป็นแซ็ง-ดูมังเก)[2] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
จาเมกา จาเมกา ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: ใช้แรงงานอย่างหนัก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2505 ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
มาร์ตีนิก มาร์ตีนิก
(จังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
มอนต์เซอร์รัต มอนต์เซอร์รัต
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[156] ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[157] ไม่
ปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
(คอมมอนเวลท์ของสหรัฐ)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546 ใช่ ตั้งแต่ 2558 ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[158] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 ใช่ สหรัฐรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน[115][159] ใช่ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ใช่ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2561; ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัด
แซ็ง-บาร์เตเลมี
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
เซนต์คิตส์และเนวิส เซนต์คิตส์และเนวิส ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
เซนต์ลูเชีย เซนต์ลูเชีย ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: ปรับ และ/หรือ พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
เซนต์มาร์ติน
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[98] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[100] ใช่ ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[13] ใช่ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[101]
เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ไม่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับ และ/หรือ พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)[2]
ไม่ ไม่ ไม่ ไม่มีทหาร ไม่ ไม่
ซินต์มาร์เติน ซินต์มาร์เติน
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่/ใช่ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[143] ไม่ ใช่ เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ไม่ ไม่
ตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2561[160] ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส หมู่เกาะเติกส์และเคคอส
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2554[161] ไม่ ใช่ สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ไม่
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
(ดินแดนของสหรัฐ)
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2528 ใช่ ตั้งแต่ 2558[114] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[114] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[114] ใช่ สหรัฐรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน[115][159] ไม่ ไม่

อเมริกาใต้

แก้
สิทธิใน กิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกัน การรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกัน การสมรสเพศเดียวกัน การรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกัน แอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผย กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศ กฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อาร์เจนตินา อาร์เจนตินา ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2396
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินด้วยกันในบัวโนสไอเรส (2546),[162] รัฐริโอเนโกร (2546),[163] วิลลากาโลสปาซ (2550) และ รีโอกวาร์โต (2552)
การอยู่กินด้วยกันทั่วประเทศตั้งแต่ 2015[164]
ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[165] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553 ใช่ ตั้งแต่ 2552[166] ใช่/ไม่ กฎหมายปกป้องในบางเมือง;[167]
กำลังดำเนินการทั้งประเทศ
การระบุว่าคนข้ามเพศคือความเจ็บป่วยในทางการแพทย์หรือพยายามบำบัดรักษารสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553
ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2555[168]
โบลิเวีย โบลิเวีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2375
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามใน การอยู่กินเสรี ตั้งแต่ 2552;[169]
Family life agreement pending[170]
ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2552[171] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นฝ่ายรับบุตรบุญธรรม แต่ไม่ใช่ในฐานะคู่[172] ใช่ ตั้งแต่ 2558[173][174][175] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[2] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2559[176][177][178][179]
บราซิล บราซิล ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2374
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ "การอยู่กินอย่างคงตัว" ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2547; รับรองในฐานะครอบครัวทั่วประเทศตั้งแต่ 2554[180][181] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2555, ทั่วประเทศตั้งแต่ 2556[182][183] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[184] ใช่[185] ใช่/ไม่ ต่อต้านในทุกรัฐของบราซิล (ยกเว้นรัฐโตกันชีนส์), รวมถึงเขตสหพันธรัฐ; กำลังดำเนินการขยายกฎหมายต่อต้านการการเลือกปฏิบัติทั่วประเทศ[186] การระบุว่าคนข้ามเพศคือความเจ็บป่วยในทางการแพทย์หรือพยายามบำบัดรักษารสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542[187][188] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือคำสั่งทางกฎหมายตั้งแต่ 2561[189][190][191]
ชิลี ชิลี ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542;
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2558[192] ไม่ กำลังเสนอ[193] ไม่ กำลังเสนอ[194] ใช่ ตั้งแต่ 2555[195] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[196] ใช่ คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้ภายหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์โดยสมบูรณ์และได้รับอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2550[197] ปัจจุบัน ด้วยกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางเพศที่กว้างขึ้น (กำเปลี่ยนเพศโดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมาย) เริ่มมีการพูดคุยกันในรัฐสภาแล้ว[198]
โคลอมเบีย โคลอมเบีย ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2524
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ ภาวะสมรสโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2550[199] ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[200] ใช่ รับบุตรบุญธรรมได้ตั้งแต่ 2557;[201] รับร่วมกันได้ตั้งแต่ 2558[202] ใช่ ตั้งแต่ 1999[2] ใช่ ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[203] ใช่ ตั้งแต่ 2558, คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศและชื่อแสดงตนของตนได้เป็นพิธีก่อนที่จะมีการรับรอง ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดหรือมีคำสั่งทางกฎหมาย[204]
เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ ใช่ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2540
+ ลงนามสหประชาชาติ[2]
ใช่ การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2552[205][206] ไม่ รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2552; กำลังดำเนินการพิพากษาของศาล[207] ไม่ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจรับบุตรบุญธรรม แต่รับร่วมกันไม่ได้[208] [209]