โซมาลีแลนด์
โซมาลีแลนด์ (โซมาลี: Jamhuuriyadda Soomaaliland; อาหรับ: أرض الصومال, Arḍ aṣ-Ṣūmāl; อังกฤษ: Somaliland) เป็นดินแดนตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโซมาเลียและติดกับประเทศจิบูตีและประเทศเอธิโอเปียในจะงอยแอฟริกา ประกาศเอกราชจากโซมาเลียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาติ
สาธารณรัฐโซมาลีแลนด์ Jamhuuriyadda Soomaaliland (โซมาลี) جمهورية أرض الصومال (อาหรับ) | |
---|---|
คำขวัญ: Freedom, Democracy and Success for All (อิสรภาพ ประชาธิปไตย และความสำเร็จเพื่อทุกคน) | |
![]() | |
เมืองหลวง และ ใหญ่สุด | ฮาร์เกซา |
ภาษาราชการ | ภาษาโซมาลี ภาษาอาหรับ และภาษาอังกฤษ[1] |
การปกครอง | ระบบประธานาธิบดี สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ |
• ประธานาธิบดี | อาห์เมด โมฮัมเหม็ด โมฮามุด |
• รองประธานาธิบดี | Abdirahman Saylici |
เอกราช จากสหราชอาณาจักรและโซมาเลีย | |
• ก่อตั้ง | พ.ศ. 2427 |
• เอกราช | 26 มิถุนายน พ.ศ. 2503 |
• รวมกับอิตาเลียนโซมาลีแลนด์เป็นโซมาเลีย | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 |
• ถอนตัวจากโซมาเลีย | 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 |
พื้นที่ | |
• รวม | 137,600 ตารางกิโลเมตร (53,100 ตารางไมล์) (N/A) |
N/A | |
ประชากร | |
• 2551 ประมาณ | 3.5 ล้าน (N/A) |
25 ต่อตารางกิโลเมตร (64.7 ต่อตารางไมล์) (N/A) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | N/A (ประมาณ) |
• รวม | N/A |
• ต่อหัว | N/A (N/A) |
HDI (N/A) | N/A ข้อผิดพลาด: ค่า HDI ไม่ถูกต้อง · N/A |
สกุลเงิน | ชิลลิงโซมาลีแลนด์ (SLSH) |
เขตเวลา | UTC+3 (EAT) |
รหัสโทรศัพท์ | 252 |
โดเมนบนสุด | ไม่มี |
ประวัติศาสตร์แก้ไข
สิ่งประดิษฐ์มนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศคือ ภาพเขียนที่ถ้ำ Laas Geel เมื่อ 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่การเกษตร[2] ชาวมุสลิม ได้ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในบริเวณนี้เมื่อศตวรรษที่ 7-10 และรัฐอาหรับเล็ก ๆ ก็ถูกก่อตั้งขึ้น ใน ค.ศ. 1548 อาณาจักรออตโตมัน ได้เข้ายึดครองบริเวณโซมาลีแลนด์ตะวันตกในปัจจุบัน หลังการลงนามสนธิสัญญาที่ต่อเนื่องกับการพิพากษาแล้วภาษาโซมาลี Sultans เช่น Mohamoud Ali ไชร์ของรัฐสุลต่าน อังกฤษก่อตั้งดินแดนนี้ เรียกว่า บริติชโซมาลีแลนด์[3]
การเมืองแก้ไข
การเมืองปกครองภายใต้ระบอบรัฐธรรมนูญ ปกครองแบบระบอบสาธารณรัฐ
พรรคการเมืองแก้ไข
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรคสันติภาพ สามัคคี และการพัฒนา
- พรรคความยุติธรรมและการพัฒนา
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศแก้ไข
โซมาลีแลนด์ ได้ทำการสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ เช่น เอธิโอเปีย[4][5] จิบูตี[6] เบลเยียม[7] ฝรั่งเศส[8] กานา[9] เคนยา[10] แอฟริกาใต้[11] สวีเดน[12][13] สหราชอาณาจักร[14] และไต้หวัน เป็นต้น
การแบ่งเขตการปกครองแก้ไข
โซมาลีแลนด์ มีเมืองหลวงชื่อ ฮาร์เกซา และมี 6 จังหวัด
- จังหวัดอัลดาล
- จังหวัดการูดิ
- จังหวัดซาฮิล
- จังหวัดทอ
- จังหวัดซูล
- จังหวัดซะนัก
ภูมิศาสตร์แก้ไข
อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของโซมาเลีย ละติจูดที่ 08°00' – 11°30' ลองจิจูดที่ 42°30' – 49°00' มีชายฝั่งยาว 740 กิโลเมตร พื้นที่ 137,600 ตารางกิโลเมตร ฤดูกาลในโซมาลีแลนด์ ได้แก่ ฤดูแล้ง และ ฤดูฝน ภาคเหนือเป็นหุบเขา สูง 900-2,100 จากระดับน้ำทะเล
เศรษฐกิจแก้ไข
ย่ำแย่ เงินเฟ้อมาก ๆ[ต้องการอ้างอิง] โซมาลีแลนด์ใช้เงินทั้งสกุลชิลลิงโซมาลีแลนด์ (อังกฤษ: Somaliland shilling, โซมาลี: Soomaaliland shilin) ซึ่งประเทศอื่นโดยส่วนใหญ่ยังไม่ยอมรับเงินสกุลนี้ และเงินสกุลชิลลิงโซมาเลีย ที่ได้รับการยอมรับนอกประเทศมากกว่า
ประชากรแก้ไข
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
วัฒนธรรมแก้ไข
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ศาสนาแก้ไข
ส่วนใหญ่เป็นมุสลิม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ "Country Profile". Government of Somaliland. สืบค้นเมื่อ 2010-02-02.
- ↑ http://wysinger.homestead.com/punt.html
- ↑ Hugh Chisholm (ed.), The encyclopædia Britannica: a dictionary of arts, sciences, literature and general information, Volume 25, (At the University press: 1911), p.383.
- ↑ http://somalilandpress.com/9356/ethiopia-appoints-new-representative-to-somaliland-upgrades-the-office/
- ↑ http://www.afrol.com/articles/25633
- ↑ http://www.afrol.com/articles/23556
- ↑ http://www.afrol.com/articles/25633
- ↑ http://www.lesnouvelles.org/P10_magazine/15_grandentretien/15055_mahamudsalahnur_eng.html
- ↑ http://www.afrol.com/articles/25633
- ↑ http://somalilandpress.com/10344/kenyan-deputy-speaker-addresses-somaliland-parliament/
- ↑ http://www.afrol.com/articles/25633
- ↑ http://www.afrol.com/articles/25633
- ↑ http://www.somalilandembassy.se/
- ↑ http://www.publications.parliament.uk/pa/cm200304/cmhansrd/vo040204/halltext/40204h03.htm