ประเทศเบลีซ

(เปลี่ยนทางจาก เบลีซ)

เบลีซ (อังกฤษ: Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก

เบลีซ

Belize (อังกฤษ)
คำขวัญละติน: Sub Umbra Floreo
("เราเจริญขึ้นภายใต้ร่มเงา")
ที่ตั้งของเบลีซ
เมืองหลวงเบลโมแพน
เมืองใหญ่สุดเบลีซซิตี
ภาษาราชการภาษาอังกฤษ, ภาษาสเปน
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
เดมฟรอยลา ซาลาม
จอห์นนี บรีเซโญ
เอกราช
21 กันยายน พ.ศ. 2524
พื้นที่
• รวม
22,966 ตารางกิโลเมตร (8,867 ตารางไมล์) (148)
0.7
ประชากร
• ก.ค. 2549 ประมาณ
287,730 (1792)
12.5 ต่อตารางกิโลเมตร (32.4 ต่อตารางไมล์) (2032)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560[ต้องการอ้างอิง] (ประมาณ)
• รวม
$ 3.230 พันล้าน[ต้องการอ้างอิง]
$ 8,341[ต้องการอ้างอิง]
จีดีพี (ราคาตลาด) 2560[ต้องการอ้างอิง] (ประมาณ)
• รวม
$ 1.819 พันล้าน[ต้องการอ้างอิง]
$ 4,698[ต้องการอ้างอิง]
จีนี (2542)53.3
สูง
เอชดีไอ (2562)ลดลง 0.716[1]
สูง · 110
สกุลเงินดอลลาร์เบลีซ (BZD)
เขตเวลาUTC-6
รหัสโทรศัพท์501
โดเมนบนสุด.bz
1God Save The King เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการ แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ในพระราชพิธีเท่านั้น2ข้อมูลปี พ.ศ. 2548

ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice

เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง

ภูมิศาสตร์

แก้

ส่วนใหญ่เป็นป่าเขตร้อน มีที่ราบลุ่มบริเวณชายฝั่งทะเล มีเนินเขาทางตอนใต้

ประวัติศาสตร์

แก้

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

แก้

ยุคอารยธรรมมายา

แก้

ประวัติศาสตร์ของเบลีซเริ่มต้นเมื่อ 1,500 ปีก่อนคริสตกาล เมื่อประเทศถูกครอบครองโดยอารยธรรมมายา มีแหล่งโบราณคดีจำนวนมากกระจายไปทั่วประเทศเช่น El Caracol, Lamanai และ Xunantunich สะท้อนให้เห็นถึงอดีตของประเทศและประชากรที่อาศัยอยู่

ยุคอารยธรรมมายา

แก้

ช่วงกลางศตวรรษ มีชาว Baymen จากอังกฤษและสกอตแลนด์ได้กระจายอำนาจและเริ่มเข้ามาตั้งรกรากในเบลีซ สเปนก็ได้ใช้ความพยายามในการเข้าควบคุมประเทศ แต่ในที่สุดเบลีซก็ได้ถูกก่อตั้งให้เข้ามาร่วมอยู่จักรวรรดิอังกฤษ หลังจากสงครามเซนต์จอร์จเบอร์ (St. George’s Caye) ในปี ค.ศ. 1798 และ อยู่ภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร มีสถานะเป็นอาณานิคมจนถึงปี ค.ศ. 1973 จนกระทั่งได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1981

การเมืองการปกครอง

แก้

เบลีซมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ซึ่งพระมหากษัตริย์จะทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มีสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นประมุขพระองค์ปัจจุบัน ทรงใช้พระราชอำนาจผ่านผู้สำเร็จราชการ (Governor-General)

นิติบัญญัติ

แก้

ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบสภาคู่

บริหาร

แก้

นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมากจะได้รับการแต่งตั้งจากผู้สำเร็จ ราชการ ส่วนคณะรัฐมนตรี ได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้งโดยผู้สำเร็จราชการ

ตุลาการ

แก้

หัวหน้าผู้พิพากษาได้รับการแต่งตั้งจากผู้สำเร็จราชการ โดยการเสนอชื่อจากนายกรัฐมนตรี พรรคการเมืองสำคัญ People's United Party ( PUP) (พรรครัฐบาล)United Democratic Party (UDP)

การบังคับใช้กฎหมาย

แก้

การแบ่งเขตการปกครอง

แก้

เบลีซแบ่งออกเป็น 6 เขต (districts) ได้แก่

  1. เขตเบลีซ
  2. เขตคาโย
  3. เขตโคโรซอล
  4. เขตออเรนจ์วอล์ก
  5. เขตสตันน์ครีก
  6. เขตโทเลโด

นโยบายต่างประเทศ

แก้

กองทัพ

แก้

กองทัพบก

แก้

กองทัพอากาศ

แก้

กองทัพเรือ

แก้

กองกำลังกึ่งทหาร

แก้

เศรษฐกิจ

แก้

การท่องเที่ยว

แก้

โครงสร้างพื้นฐาน

แก้

คมนาคม และ โทรคมนาคม

แก้

คมนาคม

แก้

โทรคมนาคม

แก้

สาธารณูปโภค

แก้

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

แก้

การศึกษา

แก้

สาธารณสุข

แก้

สวัสดิการสังคม

แก้

ประชากรศาสตร์

แก้

เชื้อชาติ

แก้

มีประชากรประมาณ 224,900 คน ชาวเบลีซส่วนใหญ่เป็นพวกมายา อินคา และครีโอล มีภาษามายา

ศาสนา

แก้

นับถือศาสนาคริสต์ นิกายแองกลิแกน โปรแตสแตนท์ โรมันคาทอลิก

ภาษา

แก้

ภาษาอังกฤษใช้เป็นภาษาทางการ และ ภาษาครีโอลเป็นภาษาพูด

วัฒนธรรม

แก้

ดนตรี

แก้

อาหาร

แก้

สื่อสารมวลชน

แก้

วันหยุด

แก้

กีฬา

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Human Development Report 2020" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Development Programme. December 15, 2020. สืบค้นเมื่อ December 15, 2020.
  2. "Belize". World Bank.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้