โตเกเลา
09°10′S 171°50′W / 9.167°S 171.833°W
โตเกเลา Tokelau | |
---|---|
แผนที่หมู่เกาะโตเกเลา เกาะสเวนส์อยู่ทางใต้ของภาพ | |
เมืองหลวง | หมุนเวียนทุกปีระหว่างสามอะทอลล์[a] |
เมืองใหญ่สุด | อาตาฟู |
ภาษาราชการ | |
การปกครอง | ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ |
• ประมุข | สมเด็จพระราชาธิบดีชาลส์ที่ 3 |
• ผู้บริหาร | รอสส์ อาร์เดิร์น |
• หัวหน้ารัฐบาล | เครีซีอาโน คาโลโล |
ดินแดนภายใต้การปกครองนิวซีแลนด์ | |
• บัญญัติโตเกเลา | พ.ศ. 2491 |
พื้นที่ | |
• รวม | 10 ตารางกิโลเมตร (3.9 ตารางไมล์) |
น้อยมาก | |
• ความสูง | 5 เมตร |
ประชากร | |
• สำมะโนประชากร 2016 | 1,499[3] (อันดับที่ 237) |
115 ต่อตารางกิโลเมตร (297.8 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 86) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2017 (ประมาณ) |
• รวม | 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] |
• ต่อหัว | 6,275 ดอลลาร์สหรัฐ (ไม่จัดอันดับ) |
จีดีพี (ราคาตลาด) | (ประมาณ) |
• รวม | 9,406,225 ดอลลาร์สหรัฐ[4] |
สกุลเงิน | ดอลลาร์นิวซีแลนด์ (NZ$) (NZD) |
เขตเวลา | UTC+13:00 |
รูปแบบวันที่ | วว/ดด/ปปปป |
ขับรถด้าน | ซ้าย |
รหัสโทรศัพท์ | +690 |
รหัส ISO 3166 | TK |
โดเมนบนสุด | .tk |
โตเกเลา[5] (โตเกเลา: Tokelau; แปล: "ตะวันออกเฉียงเหนือ-เหนือ";[6] เดิมมีชื่อว่า หมู่เกาะยูเนียน และมีชื่อทางการถึง พ.ศ. 2519 ว่า หมู่เกาะโตเกเลา)[7] เป็นเขตการปกครองตนเองกึ่งอาณานิคมของนิวซีแลนด์ โดยประกอบไปด้วยอะทอลล์ทั้งหมด 3 แห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ทั้งหมดมีพื้นที่ดินรวม 10 ตารางกิโลเมตร (4 ตารางไมล์) ซึ่งมีการผลัดเปลี่ยนเมืองหลวงไปตามอะทอลล์ทั้ง 3 แห่งทุก ๆ ปี[8] นอกจากนี้ เกาะสเวนส์ซึ่งอยู่ในกลุ่มเกาะเดียวกันตกเป็นกรณีพิพาทเรื่องดินแดน โดยในปัจจุบันสหรัฐบริหารเกาะนี้ในฐานะส่วนหนึ่งของอเมริกันซามัว สหประชาชาติได้จัดให้โตเกเลาอยู่ในรายชื่อประเทศที่ไม่ได้ปกครองตนเอง โตเกเลาเป็นประเทศและดินแดนที่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจและค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่น้อยที่สุดในโลก มีเมืองที่ใหญ่ที่สุด คือ อาตาฟู
ศัพทมูลวิทยา
แก้โตเกเลา เป็นคำที่มีความหมายในภาษาโตเกเลาว่า "ลมเหนือ" นักสำรวจชาวยุโรปยุคแรกเปลี่ยนชื่อหมู่เกาะโตเกเลาเป็น หมู่เกาะยูเนียน และ กลุ่มยูเนียน[9] จากนั้นมีการตั้งชื่อทางการของเกาะใน พ.ศ. 2519 เป็น หมู่เกาะโตเกเลา แล้วจึงตัดคำว่าหมู่เกาะออกเหลือเพียง โตเกเลา ในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2519
หมายเหตุ
แก้- ↑ แต่ละอะทอลล์มีศูนย์กลางการปกครองของตนเอง
อ้างอิง
แก้- ↑ "Government of Tokelau". www.tokelau.org.nz (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 20 September 2017.
- ↑ "Tokelau Info". Tokelau-info.tk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 October 2013. สืบค้นเมื่อ 30 December 2011.
- ↑ Final population counts: 2016 Tokelau Census (PDF) (Report). Statistics New Zealand. November 2016. p. 3.
- ↑ 4.0 4.1 "Tokelau's Gross Domestic Product determined for first time this century". www.tokelau.org.nz.
- ↑ "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
- ↑ "Culture of Tokelau - history, people, clothing, traditions, women, beliefs, food, family, social". www.everyculture.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-02-28.
Tokelau" means "north-northeast.
- ↑ Tokelau Amendment Act 1976
- ↑ "Welcome to sunny Tokelau, an untouched Pacific Paradise". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 มกราคม 2010.
- ↑ "Tokelau facts, information, pictures | Encyclopedia.com articles about Tokelau". www.encyclopedia.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-11-29.
อ่านเพิ่ม
แก้- Heller, Maxwell H. (2005). Where on Earth Is Tokelau?: A Doctor's Experiences in the South Seas. ISBN 978-0-901100-58-0.
- Huntsman, Judith; Hooper, Antony (1996). Tokelau: A Historical Ethnography. ISBN 978-1-86940-153-5.
- Huntsman, Judith; Kalolo, Kelihiano (2007). The Future of Tokelau Decolonising Agendas, 1975–2006. ISBN 978-1-86940-398-0.
- McQuarrie, Peter (2007). Tokelau: People, Atolls and History. ISBN 978-1-877449-41-3.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Tokelau. The World Factbook. Central Intelligence Agency.
- Tokelau จาก UCB Libraries GovPubs
- โตเกเลา ที่เว็บไซต์ Curlie
- Wikimedia Atlas of Tokelau
- Ethnology of Tokelau Islands
- คู่มือการท่องเที่ยว โตเกเลา จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)
การปกครอง
แก้- Tokelau Council of Ongoing Government. executive branch of the government
- The Administrator of Tokelau. เว็บไซต์โตเกเลาของ the NZ Ministry of Foreign Affairs and Trade