สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี

จังหวัดปราจีนบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์ แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดปราจีนบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ร้อยเอก ทองคำ คล้ายโอภาส

เขตเลือกตั้ง แก้

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอกบินทร์บุรี, กิ่งอำเภอนาดี และกิ่งอำเภอโคกปีบ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสระแก้ว, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอตาพระยา และอำเภออรัญประเทศ
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอกบินทร์บุรี และกิ่งอำเภอนาดี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสระแก้ว, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอตาพระยา, อำเภออรัญประเทศ และกิ่งอำเภอววังน้ำเย็น
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภออรัญประเทศ, อำเภอตาพระยา, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอสระแก้ว, อำเภอกบินทร์บุรี และกิ่งอำเภอวังน้ำเย็น
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนาดี, อำเภอประจันตคาม, อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ และอำเภอศรีมหาโพธิ
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภออรัญประเทศ, อำเภอตาพระยา, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอวังน้ำเย็น, อำเภอสระแก้ว, อำเภอกบินทร์บุรี และกิ่งอำเภอคลองหาด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนาดี, อำเภอประจันตคาม, อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ และอำเภอศรีมหาโพธิ
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอกบินทร์บุรี และอำเภอนาดี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสระแก้ว, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอตาพระยา, อำเภออรัญประเทศ, อำเภอวังน้ำเย็น และกิ่งอำเภอคลองหาด
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอกบินทร์บุรี และอำเภอนาดี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสระแก้ว, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอตาพระยา, อำเภออรัญประเทศ, อำเภอคลองหาด และอำเภอวังน้ำเย็น
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรีและอำเภอบ้านสร้าง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกบินทร์บุรีและอำเภอนาดี (เฉพาะตำบลแก่งดินสอ ตำบลทุ่งโพธิ์ และตำบลบุพราหมณ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอประจันตคาม, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอศรีมโหสถ และอำเภอนาดี (เฉพาะตำบลสะพานหิน ตำบลนาดี และตำบลสำพันตา)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง และอำเภอศรีมโหสถ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม และอำเภอกบินทร์บุรี (เฉพาะตำบลลาดตะเคียน ตำบลหาดนางแก้ว ตำบลวังดาล ตำบลนนทรี และตำบลนาแขม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาดีและอำเภอกบินทร์บุรี (ยกเว้นตำบลลาดตะเคียน ตำบลหาดนางแก้ว ตำบลวังดาล ตำบลนนทรี และตำบลนาแขม)
  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง และอำเภอศรีมโหสถ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม และอำเภอนาดี (ยกเว้นตำบลทุ่งโพธิ์และตำบลแก่งดินสอ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกบินทร์บุรีและอำเภอนาดี (เฉพาะตำบลทุ่งโพธิ์และตำบลแก่งดินสอ)
  3 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต แก้

ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481 แก้

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายทองคำ คล้ายโอภาส
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายดาบสงวน พยุงพงศ์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481

ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489 แก้

เขต มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายดุสิต บุญธรรม นายทองเปลว ชลภูมิ
2 นายจันทร โกมุทพงศ์

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492 แก้

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายสมบูรณ์ เดชสุภา
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7–9; พ.ศ. 2495–2500 แก้

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 พันตรี วิเชียร ศรีมันตร ร้อยโท พัฒน์ ณ ถลาง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 พันตรี วิเชียร ศรีมันตร พันเอก หลวงบุรกรรมโกวิท (ล้อม บุรกรรมโกวิท)
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 พันตรี วิเชียร ศรีมันตร พันเอก หลวงบุรกรรมโกวิท (ล้อม บุรกรรมโกวิท)

ชุดที่ 10–11; พ.ศ. 2512–2518 แก้

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสังคมชาตินิยม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1 นายบุญส่ง สมใจ นายบุญส่ง สมใจ
2 นายสมบูรณ์ เดชสุภา นายโปร่ง เจริญรัตน์
3 นางสงวน ศรีมันตร พันตรี ทองคำ เสมะกนิษฐ์

ชุดที่ 12–13; พ.ศ. 2519–2522 แก้

      พรรคกิจสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคสยามประชาธิปไตย
เขต ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายเฉลิมพล หริตวร นายสมาน ภุมมะกาญจนะ
นายบุญส่ง สมใจ นายบุญส่ง สมใจ
2 นายเสนาะ เทียนทอง
นายนิพนธ์ เตียเจริญ นายสำรวล มหิทธิบุรินทร์

ชุดที่ 14–15; พ.ศ. 2526–2529 แก้

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชากรไทย
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคราษฎร
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
1 นายเสนาะ เทียนทอง
นายวิทยา เทียนทอง
นายสลับ นาคะเสถียร นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
2 นายสุนทร วิลาวัลย์ นายสุนทร วิลาวัลย์
นายสมาน ภุมมะกาญจนะ นายบุญส่ง สมใจ

ชุดที่ 16–18; พ.ศ. 2531–2535 แก้

      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายสมาน ภุมมะกาญจนะ นายสมาน ภุมมะกาญจนะ
นายสุนทร วิลาวัลย์
นายบุญส่ง สมใจ
2 นายเสนาะ เทียนทอง
นายวิทยา เทียนทอง
นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
  • สำหรับการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 เขตเลือกตั้งที่ 2 เป็นของจังหวัดสระแก้ว

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539 แก้

      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสุนทร วิลาวัลย์ นายสุนทร วิลาวัลย์
นายสมาน ภุมมะกาญจนะ
นายบุญส่ง สมใจ นายวัฒนา เมืองสุข

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548 แก้

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายสุนทร วิลาวัลย์ นางกนกวรรณ วิลาวัลย์ ศรีจันทร์งาม
2 นายสมาน ภุมมะกาญจนะ   นายคงกฤช หงษ์วิไล
นายคงกฤช หงษ์วิไล (แทนนายสมาน)
3 นายวรวุฒิ ภุมมะกาญจนะ นายชยุต ภุมมะกาญจนะ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550 แก้

      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคกิจสังคม
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคมัชฌิมาธิปไตย
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคประชาธิปัตย์
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายชยุต ภุมมะกาญจนะ
นายสุนทร วิลาวัลย์
  (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายเกียรติกร พากเพียรศิลป์
(แทนนายสุนทร/ศาลสั่งให้พ้นสมาชิกภาพ)
นายอำนาจ วิลาวัลย์
(แทนนายเกียรติกร)
นายคงกฤช หงษ์วิไล

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566 แก้

      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคก้าวไกลพรรคชาติพัฒนากล้า → พรรคชาติพัฒนา
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายอำนาจ วิลาวัลย์ นายชยุต ภุมมะกาญจนะ นางเพชรินทร์ เสียงเจริญ
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายชยุต ภุมมะกาญจนะ นายสฤษดิ์ บุตรเนียร
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายวุฒิพงศ์ ทองเหลา

รูปภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้