สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์

จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดกาฬสินธุ์
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต6
คะแนนเสียง238,723 (เพื่อไทย)
83,019 (พลังประชารัฐ)
39,062 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2491
ที่นั่งเพื่อไทย (4)
พลังประชารัฐ (1)
ภูมิใจไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์ แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยขณะนั้นกาฬสินธุ์ยังเป็นเพียงอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม

ปี พ.ศ. 2490 กาฬสินธุ์ยกฐานะขึ้นมาเป็นจังหวัด และในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2491 จังหวัดกาฬสินธุ์ มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายกว้าง ทองทวี

เขตเลือกตั้ง แก้

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอท่าคันโท, อำเภอยางตลาด, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอกมลาไสย, กิ่งอำเภอหนองกุงศรี, กิ่งอำเภอห้วยเม็ก และกิ่งอำเภอร่องคำ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง และกิ่งอำเภอนามน
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, กิ่งอำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอนามน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, กิ่งอำเภอหนองกุงศรี, กิ่งอำเภอห้วยเม็ก และกิ่งอำเภอคำม่วง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, กิ่งอำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอนามน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง และกิ่งอำเภอหนองกุงศรี
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, กิ่งอำเภอร่องคำ, กิ่งอำเภอนามน และกิ่งอำเภอห้วยผึ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง และอำเภอหนองกุงศรี
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน และกิ่งอำเภอห้วยผึ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี และกิ่งอำเภอร่องคำ
6 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน และอำเภอห้วยผึ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี และกิ่งอำเภอร่องคำ
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง และกิ่งอำเภอนาคู
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอสามชัย
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง, กิ่งอำเภอนาคู และกิ่งอำเภอดอนจาน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอสามชัย
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ (เฉพาะตำบลหนองแวง) และอำเภอนามน (เฉพาะตำบลยอดแกง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย (เฉพาะตำบลเจ้าท่าและตำบลธัญญา), อำเภอยางตลาด (ยกเว้นตำบลเว่อและตำบลเขาพระนอน) และกิ่งอำเภอฆ้องชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอท่าคันโท, อำเภอห้วยเม็ก และอำเภอยางตลาด (เฉพาะตำบลเว่อและตำบลเขาพระนอน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสมเด็จ (ยกเว้นตำบลหนองแวง), อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอคำม่วง และกิ่งอำเภอสามชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกุฉินารายณ์ (เฉพาะตำบลเหล่าใหญ่และตำบลแจนแลน), อำเภอห้วยผึ้ง, อำเภอนามน (ยกเว้นตำบลยอดแกง), อำเภอร่องคำ อำเภอกมลาไสย (ยกเว้นตำบลเจ้าท่าและตำบลธัญญา) และกิ่งอำเภอดอนจาน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอกุฉินารายณ์ (ยกเว้นตำบลเหล่าใหญ่และตำบลแจนแลน), อำเภอเขาวง และกิ่งอำเภอนาคู
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอหนองกุงศรี และอำเภอฆ้องชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง, อำเภอร่องคำ, อำเภอคำม่วง, อำเภอนาคู, อำเภอสามชัย และอำเภอดอนจาน
6 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาดและอำเภอฆ้องชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอห้วยเม็ก และอำเภอท่าคันโท
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสมเด็จ, อำเภอคำม่วง, อำเภอสหัสขันธ์ และอำเภอสามชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกมลาไสย, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง, อำเภอดอนจาน และอำเภอร่องคำ
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง และอำเภอนาคู
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอร่องคำ และอำเภอกมลาไสย (เฉพาะตำบลโคกสมบูรณ์ ตำบลโพนงาม ตำบลดงลิง และตำบลเจ้าท่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอฆ้องชัย และอำเภอกมลาไสย (เฉพาะตำบลหนองแปน ตำบลกมลาไสย ตำบลหลักเมือง และตำบลธัญญา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอท่าคันโท และอำเภอสหัสขันธ์
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสามชัย, อำเภอคำม่วง, อำเภอสมเด็จ, อำเภอนามน และอำเภอดอนจาน
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนาคู และอำเภอห้วยผึ้ง
  5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ (เฉพาะตำบลหนองแวง) และอำเภอนามน (เฉพาะตำบลยอดแกง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอฆ้องชัยและอำเภอยางตลาด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอหนองกุงศรี และอำเภอท่าคันโท
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอสามชัย, อำเภอคำม่วง และอำเภอสมเด็จ (ยกเว้นตำบลหนองแวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอร่องคำ, อำเภอกมลาไสย, อำเภอดอนจาน, อำเภอห้วยผึ้ง และอำเภอนามน (ยกเว้นตำบลยอดแกง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง และอำเภอนาคู
  6 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต แก้

ชุดที่ 5 ; พ.ศ. 2491–2492 แก้

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายกว้าง ทองทวี (เสียชีวิต)
นายเอ็จ บุญไชย (แทนนายกว้าง)
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495 แก้

ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายสุปัน พูลพัฒน์
2 นายชาญยุทธ ไชยคำมิ่ง

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายชาญ ศิริกุล นายชาญ ศิริกุล
นายฉลอง ประจันบาน นายชาญยุทธ ไชยคำมิ่ง
นายเหรียญ สืบพันธุ์ นายสุปัน พูลพัฒน์
- นายเหรียญ สืบพันธุ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
- นายถาวร คะโยธา (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
- นายมานิต ไสยวิจิตร (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512 แก้

      พรรคอิสระ
      พรรคประชาธิปัตย์
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายสุปัน พูลพัฒน์
2 นายขุนทอง ภูผิวเดือน
3 นายชาญยุทธ ไชยคำมิ่ง
4 นางสมพงษ์ อยู่หุ่น

ชุดที่ 11; พ.ศ. 2518 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1 นายทองเส็ง ภูวิชัย
นายขุนทอง ภูผิวเดือน
2 นายมานิต ไสยวิจิตร
นายพิชัย ยันตะบุตย์

ชุดที่ 12–15 ; พ.ศ. 2519–2529 แก้

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคชาติประชาธิปไตย - พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
1 นายทองคำ บาดาล นายพิชญ์ แดนวงศ์ นายสังข์ทอง ศรีธเรศ
นายไพโรจน์ ศาสตราวาหะ นายชิงชัย มงคลธรรม นางพวงเพชร ศรีทอง นายพิชัย มงคลวิรกุล
นายจรัล ปัทมดิลก นายพิชัย ยันตะบุศย์ นายวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ นายวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์
2 นายประยูร โง่นคำ นายประยูร โง่นคำ (เสียชีวิต) นายใหม่ ศิรินวกุล
นายใหม่ ศิรินวกุล (แทนนายประยูร)
นายขุนทอง ภูผิวเดือน นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง

ชุดที่ 16–20; พ.ศ. 2531–2539 แก้

      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาชนพรรคชาติไทย
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสังข์ทอง ศรีธเรศ นายสังข์ทอง ศรีธเรศ
นายวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ นายพิชัย มงคลวิรกุล
นายพิชัย มงคลวิรกุล นายพิชัย มงคลวิรกุล นายชิงชัย มงคลธรรม
2 นายใหม่ ศิรินวกุล นายใหม่ ศิรินวกุล นายขุนทอง ภูผิวเดือน นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง
นายอภิชาติ หาลำเจียก นายอภิชาติ หาลำเจียก นางสาวอรดี สุทธศรี นายบวร ภูจริต
นายบวร ภูจริต นายบวร ภูจริต นายเงิน ไชยศิวามงคล นายเงิน ไชยศิวามงคล

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548 แก้

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ นางบุญรื่น ศรีธเรศ
2 นางสาวอรดี สุทธศรี
(   / เลือกตั้งใหม่)
นางสาวอรดี สุทธศรี
3 นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง
4 นายพีระเพชร ศิริกุล นายพีระเพชร ศิริกุล
5 นางบุญรื่น ศรีธเรศ นางสาวภัทรา วรามิตร
6 นายประเสริฐ บุญเรือง นายประเสริฐ บุญเรือง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550 แก้

      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นางบุญรื่น ศรีธเรศ
นายวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์
นายคมเดช ไชยศิวามงคล
2 นายประเสริฐ บุญเรือง
นายพีระเพชร ศิริกุล
นายนิพนธ์ ศรีธเรศ

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566 แก้

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นางบุญรื่น ศรีธเรศ นายวิรัช พิมพะนิตย์
2 นายวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ นายพลากร พิมพะนิตย์
3 นายคมเดช ไชยศิวามงคล นายจำลอง ภูนวนทา
4 นายพีระเพชร ศิริกุล นางสาวประภา เฮงไพบูลย์
5 นายนิพนธ์ ศรีธเรศ นายประเสริฐ บุญเรือง นายทินพล ศรีธเรศ
6 นายประเสริฐ บุญเรือง ยุบเขต 6 นายประเสริฐ บุญเรือง

รูปภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้