สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม

แก้
สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม
 
IATA ICAO รหัสเรียก
SK SAS SCANDINAVIAN
ก่อตั้ง1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 (77 ปี)
เริ่มดำเนินงาน17 กันยายน ค.ศ. 1946 (77 ปี)
AOC #SCA.AOC.001E
ท่าหลัก
เมืองสำคัญ
สะสมไมล์ยูโรโบนัส
พันธมิตรการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ (จนถึง 31 สิงหาคม ค.ศ. 2024)[1]
สกายทีม (ตั้งแต่ 1 กันยายน ค.ศ. 2024)
บริษัทลูก
ขนาดฝูงบิน68 (เฉพาะฝูงบินหลัก)
จุดหมาย125[2] (ทั้งเครือข่าย)
บริษัทแม่
สำนักงานใหญ่  สต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน
บุคลากรหลักCarsten Dilling (ประธาน)
Anko van der Werff (ซีอีโอ)
เว็บไซต์www.flysas.com

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม[3] (อังกฤษ: Scandinavian Airlines System) ดำเนินงานในชื่อ สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ และรู้จักกันและย่อว่า เอสเอเอส (SAS) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก ที่มีฐานการบินที่ท่าอากาศยานโคเปนเฮเกน ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา และท่าอากาศยานออสโลการ์เดอร์มอน และมีสำนักงานใหญ่ในสต็อกโฮล์ม เอสเอเอสให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 125 แห่งในยุโรป อเมริกาเหนือ แอฟริกา และเอเชียด้วยเครื่องบิน 134 ลำในฝูงบิน

สายการบินก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1946 เป็นกิจการค้าร่วมเพื่อดำเนินเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกของสแวนสก์อินเตร์คอนติเนนตัลลุฟท์ทรฟฟืคของสวีเดน เดนอร์ชเกลุฟท์ฟาร์ตเซลซ์กกาปของนอร์เวย์ และเดแดนส์กึลุฟท์ฟาร์ตเซลซ์กกาปของเดนมาร์ก โดยได้ดำเนินเที่ยวบินแรกในวันที่ 17 กันยายน[4] และได้มีการขยายเครือข่ายครอบคลุมทั้งยุโรปในอีกสองปีต่อมา ในปี 1951 ทั้งสามสายการบินควบรวมกิจการเพื่อก่อตั้งเอสเอเอสอย่างเป็นทางการ โดยได้มีการยกย่องว่าเป็น "สัญลักษณ์ของความร่วมมือระหว่างนอร์เวย์–สวีเดน–เดนมาร์ก"[5] เอสเอเอสเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ร่วมกับการบินไทย ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ลุฟท์ฮันซ่า และแอร์แคนาดาในปี 1997[6] ในวันที่ 27 มิถุนานย ค.ศ. 2018 รัฐบาลนอร์เวย์ได้ประกาศขายหุ้นทั้งหมดในเอสเอเอส[7][8]

ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2023 แอร์ฟรานซ์–เคแอลเอ็ม รัฐบาลเดนมาร์ก และบริษัทลงทุนอีกสองรายจะเข้ามาลงทุนในเอสเอเอส โดยแอร์ฟรานซ์–เคแอลเอ็มจะถือหุ้น 19.9%[9] ทำให้เอสเอเอสต้องออกจาการเป็นสมาชิกสตาร์อัลไลแอนซ์ในวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 2024[1] และเข้าร่วมสกายทีมในอีกหนึ่งวันต่อมา

ประวัติ

แก้
 
สัญลักษณ์ดั้งเดิมของสายการบิน แสดงธงชาติของทั้งสามประเทศ

การก่อตั้ง

แก้
 
ดักลาส ดีซี-4 เป็นเครื่องบินลำแรกที่ดำเนินการในชื่อเอสเอเอส (ค.ศ. 1940)

สายการบินก่อตั้งขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 เมื่อสแวนสก์อินเตร์คอนติเนนตัลลุฟท์ทรฟฟืค (สายการบินสัญชาติสวีเดนของตระกูลวัลลันเบิร์ก) เดนอร์ชเกลุฟท์ฟาร์ตเซลซ์กกาป และเดแดนส์กึลุฟท์ฟาร์ตเซลซ์กกาป (สายการบินประจำชาตินอร์เวย์และเดนมาร์ก ณ ขณะนั้น) ได้สร้างความร่วมมือระหว่างกันเพื่อดำเนินเที่ยวบินระยะไกลจากทั้งสามประเทศร่วมกัน[10] โดยมี Per A. Norlin เป็นประธานคนแรก[11] สายการบินเริ่มดำเนินงานในวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1946 โดยมีเที่ยวบินแรกระหว่างสต็อกโฮล์มและนครนิวยอร์ก[12] ภายในครึ่งปีนั้นเอสเอเอสได้ทำลายสถิติโลกในการขนส่งสินค้าชิ้นเดียวที่มีน้ำหนักมาที่สุดข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกบนเครื่องบินโดยสารที่ดำเนินเที่ยวบินตามกำหนดการ โดยได้ขนส่งแผงไฟฟ้าน้ำหนัก 1,400 ปอนด์ (635 กิโลกรัม) จากนิวยอร์กสู่สวีเดนให้กับบริษัทซานด์วิค[13]

ในปี 1948 อาบีแอโรทรานสปอร์ต สายการบินประจำชาติสวีเดน ณ ขณะนั้นได้ประกาศเข้าร่วมกับเอสเอเอสและได้สร้างความร่วมือร่วมกันเพื่อดำเนินเที่ยวบินในทวีปยุโรป ในอีกสามปีต่อมา สายการบินทั้งหมดควบรวมกิจการเข้าด้วยกันเพื่อก่อตั้งกิจการค้าร่วมเอสเอเอสอย่างเป็นทางการ[12] โดยที่กรรมสิทธิ์ของบริษัทจะถูกแบ่งให้เอสเอเอส เดนมาร์ก (28.6%) เอสเอเอส นอร์จ (28.6%) และเอสเอเอส สวารีเย (42.8%) โดยทั้งหมด 50% จะถือครองโดยนักลงทุนเอกชน และอีก 50% จะถือครองโดยรัฐบาล[14]

เที่ยวบินขั้วโลก

แก้

ในปี 1954 เอสเอเอสเป็นสายการบินแรกของโลกที่ดำเนินเที่ยวบินขั้วโลกโดยทำการบินจากโคเปนเฮเกนสู่ลอสแอนเจลิสด้วยเครื่องบินดักลาส ดีซี-6บี โดยมีจุดแวะพักในคังเกอร์ลุสสวก เกาะกรีนแลนด์และวินนิเพก ประเทศแคนาดา[15] By summer 1956, traffic on the route had justified the frequency to be increased to three flights per week. The service proved relatively popular with Hollywood celebrities and members of the film industry, and the route turned out to be a publicity coup for SAS. Thanks to a tariff structure that allowed free transit to other European destinations via Copenhagen, this trans-polar route gained increasing popularity with American tourists throughout the 1950s.[3]

In 1957, SAS was the first airline to offer around-the-world service over the North Pole via a second polar route served by Douglas DC-7Cs flying from Copenhagen to Tokyo via Anchorage International Airport in Alaska.[15] The flight via Alaska was a compromise solution since the Soviet Union would not allow SAS, among other air carriers, to fly across Siberia between Europe and Japan, and Chinese airspace was also closed.[3]

ยุคเครื่องบินไอพ่น

แก้
 
ผู้โดยสารขณะกำลังขึ้นเครื่องบินดักลาส ดีซี-8 ของสายการบิน

เอสเอเอสเริ่มต้นยุคเครื่องบินไอพ่นตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1950 โดยได้สั่งซื้อซูว์ดาวียาซียงการาแวลสัญชาติฝรั่งเศสในปี 1959 เป็นเครื่องบินไอพ่นลำแรกของสายการบิน ในปีต่อๆ มา เอสเอเอสได้สั่งซื้อและนำดักลาส ดีซี-8 เข้ามาประจำการในฝูงบิน[ต้องการอ้างอิง]

นอกเหนือจากฝูงบินที่ทันสมัยแล้ว เอสเอเอสยังนำหลักปฏิบัติและระบบการปฏิบัติงานแบบใหม่มาใช้เพื่อปรับปรุงประสบการณ์ของลูกค้าอีกด้วย ในปี 1965 เอสเอเอสเป็นสายการบินแรกที่เริ่มใช้ระบบการจองทางอิเล็กทรอนิกส์[16] ในปี 1971เอสเอเอสได้นำเครื่องบินโบอิง 747 เครื่องบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ณ ขณะนั้นเข้าประจำการ[17] โดยก่อนหน้าการรับมอบเครื่อง 747 เอสเอเอสได้จัดตั้งกิจการค้าร่วมการซ่อมบำรุง เคเอสเอส ร่วมกับเคแอลเอ็มและสวิสแอร์ในปี 1969 เพื่อให้บริการการซ่อมบำรุงกับโบอิง 747 ของทั้งสามสายการบิน โดยต่อมาได้มีสายการบินอูว์เตอามาเข้าร่วมด้วย และได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น เคเอสเอสยู หลังมีการนำแมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10 เข้ามาประจำการ[18][19]

During its first decades, the airline built two large hotels in central Copenhagen, SAS Royal Hotel (5 stars) and the even larger SAS Hotel Scandinavia (4 stars, with a casino on the 26th floor).[16] In 1980, SAS opened its first hotel outside of Scandinavia, the SAS Kuwait Hotel. By 1989, SAS's hotel division owned a 40 percent share in the Intercontinental Hotels Group.[16] Following the deregulation of commercial aviation in Europe and the competitive pressures from new rivals, SAS experienced economic difficulties (as did many incumbent flag carrier airlines) this heavily contributed to the airline's decision to sell its hotel chain to the Radisson Hotel Group during 1992.[16]

การควบรวม การเข้าซื้อกิจการ และความร่วมมือ

แก้

In 1981, Jan Carlzon was appointed as the CEO of SAS; during his tenure, the company underwent a successful financial turnaround of the company starting in 1981 and who envisioned SAS ownership of multiple airlines worldwide. SAS gradually acquired control of the domestic markets in all three countries; this was achieved by acquiring full or partial control of various competing local airlines, including Braathens and Widerøe in Norway; Linjeflyg and Skyways Express in Sweden; and Cimber Air in Denmark. During 1989, SAS acquired 18.4% of the Texas Air Corporation, the parent company of Continental Airlines, in a bid to form a global alliance. However, this did not come about and the stake in the Texas Air Corporation was subsequently sold on. During the 1990s, SAS also acquired a 20 percent stake in British Midland, as well as purchasing 95 percent of Spanair, the second-largest airline in Spain, in addition to Air Greenland.[ต้องการอ้างอิง]

During the early 1990s, SAS unsuccessfully tried to merge itself with KLM, along with Austrian Airlines and Swissair, in a proposed combined entity commonly called Alcazar.[20][21] However, months of negotiations towards this ambitious merger ultimately collapsed due to multiple unsettled issues; this strategic failure heavily contributed to the departure of Carlzon that same year and his replacement by Jan Reinås.[22] The airline marked its 50th year of operation on 1 August 1996 with the harmonization and name of SAS's parent company to SAS Danmark A/S, SAS Norge ASA and SAS Sverige AB.[23] ในเดือยพฤษภาคม ค.ศ. 1997 เอสเอเอสเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสตาร์อัลไลแอนซ์ พันธมิตรสายการบินแห่งแรกร่วมกับการบินไทย ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ลุฟท์ฮันซ่า และแอร์แคนาดา[24]

In June 2001, the ownership structure of SAS was changed, with a holding company being created in which the holdings of the governments changed to Sweden (21.4%), Norway (14.3%), and Denmark (14.3%), while the remaining 50 percent of shares were publicly held and traded on the stock market.[23] During 2004, SAS was again restructured, being divided into four separate companies: SAS Scandinavian Airlines Sverige AB, SAS Scandinavian Airlines Danmark A/S, SAS Braathens AS, and SAS Scandinavian International AS. SAS Braathens was re-branded SAS Scandinavian Airlines Norge AS in 2007.[25][23] However, during October 2009, the four companies were once again united into one company, named SAS Scandinavian System AB.[ต้องการอ้างอิง]

การปรับปรุงองค์กร

แก้

With the growth of budget airlines and decreasing fares in Scandinavia, the business experienced financial hardship. By 2009, competitive pressures had compelled the airline to launch a cost-cutting initiative. In the first step of which, the business sold its stakes in other companies, such as British Midland International, Spanair, and airBaltic, and began to restructure its operations.[26][27][28] During January 2009, an agreement to divest more than 80 percent of the holdings in Spanair was signed with a Catalan group of investors led by Consorci de Turisme de Barcelona and Catalana d'Inciatives.[29] These changes reportedly reduced the airliner's expenses by around 23 per cent between 2008 and 2011.[30]

In November 2012, the company came under heavy pressure from its owners and banks to implement even heavier cost-cutting measures as a condition for continued financial support. Negotiations with the respective trade unions took place for more than a week and exceeded the original deadline; in the end, an agreement was reached between SAS and the trade unions that would increase the work time, cutting employee's salaries by between 12 and 20 percent, along with reductions to the pension and retirement plans; these measures were aimed at keeping the airline as an operating concern. SAS criticized how it handled the negotiations, having reportedly denied facilities to the union delegations.[30]

During 2017, SAS announced that it was forming a new airline, Scandinavian Airlines Ireland, operating out of Heathrow Airport and Málaga Airport to fly European routes on its parent's behalf using nine Airbus A320neos.[31] SAS sought to replace its own aircraft with cheaper ones crewed and based outside Scandinavia to compete better with other airlines.[32][33] The Swedish Pilots Union expressed its dissatisfaction with the operational structure of the new airline, suggesting it violated the current labour-agreements.[34] The Swedish Cabin Crew Union also condemned the new venture and stated that SAS established the airline to "not pay decent salaries" to cabin crew.[35]

In 2018, SAS announced that it had placed an order for 50 Airbus A320neo narrow-body jetliners to facilitate the creation of a single-type fleet. That same year, the Norwegian government divested its stake in the airline.[36] As part of an environmental initiative launched by San Francisco International Airport (SFO), SAS flights operating out of SFO since December 2018 have been supplied with sustainable aviation fuel from Shell and SkyNRG.[37][38]

In July 2021, the European Commission has approved a Swedish and Danish aid measure of approximately US$356 million to support SAS.[39] In September 2021, SAS announced that it would establish two operating subsidiaries; SAS Connect and SAS Link, with its existing SAS Ireland subsidiary to be rebranded as the new SAS Connect, while SAS Link would initially operate the airline's Embraer E195 aircraft, and the operations of both companies to begin by early 2022.[40][41][42]

Following little progress with SAS's restructuring plan, SAS Forward, the Swedish government announced on 7 June 2022 that Sweden, which owns 21.8% of the company, would not inject new capital into SAS and that it did "not aim to be a long-term shareholder in the company".[43][44] The airline filed for Chapter 11 bankruptcy protection in the United States on 5 July 2022.[45]

In September 2022, SAS announced it was returning at least ten aircraft to lessors, including five long-haul aircraft - amongst them two barely two year old Airbus A350s. This measure is a result of the closure of Russian airspace for flights to Asia which caused a severe drop in demand and efficiency.[46] As of November 2022, SAS announced it was searching for a buyer for one of their Airbus A350 aircraft.[47]

In October 2023, it was announced that the Air France–KLM Group would be investing alongside the Danish government and two investment firms in SAS, with the airline group buying up to 20% of SAS shares following the airline's ongoing Chapter 11 process in the United States. With the investment (if approved by the EU Commission, and respective US and Swedish courts),[48] SAS will leave Star Alliance and join SkyTeam alongside Air France–KLM.[49] In April 2024, SAS announced to end its Star Alliance membership by 31 August 2024.[50]

กิจการองค์กร

แก้

สำนักงานใหญ่

แก้
 
เอสเอเอสโฟรซุนดาวีค สำนักงานใหญ๋ของเอสเอเอสในปัจจุบัน

เอสเอเอสมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในอาคารสำนักงานเอสเอเอสโฟรซุนดาวีคในสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน

ผลประกอบการ

แก้

ผลประกอบการของเอสเอเอสระหว่างปี 2009-2020 มีดังนี้:

2009 2010 2011 2012

(ม.ค.-ต.ค.)

2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020
มูลค่าการซื้อขาย (ครูนาสวีเดน) 39,696 36,524 36,735 33,148 42,182 38,006 39,650 39,459 42,654 44,718 46,112 20,513
กไรก่อนภาษี (ครูนาสวีเดน) −1,522 −33 543 228 1,648 −918 1,417 1,431 1,725 2,041 794 −10,151
จำนวนพนักงาน (FTE มาตรฐาน) 14,438 13,723 13,479 13,591 14,127 12,329 11,288 10,710 10,324 10,146 10,445 7,568
จำนวนผู้โดยสาร (ล้านคน) 27.0 27.1 29.0 25.9 30.4 29.4 28.1 29.4 30.1 30.1 29.8 12.6
อัตราบรรทุกผู้โดยสาร (%) 72.7 75.6 74.9 76.7 75.0 76.9 76.3 76.0 76.8 75.7 75.2 60.5
จำนวนฝูงบิน (ณ สิ้นปี) 172 159 147 145 139 138 152 156 158 157 158 161
หมายเหตุ/อ้างอิง: [51] [52] [53] [a][55][56] [57] [58] [59] [59] [60] [b][61]

อัตลักษณ์องค์กร

แก้

โลโก้

แก้

เอสเอเอส

โลโก้ในปี 1998 ได้รับการออแบบโดยสต็อกโฮล์มดีไซน์แลป ซึ่งสัญลักษณ์ "SAS" จะถูกดัดแปลงเล็กน้อยตามการออกแบบลวดลายอากาศยานใหม่ด้วย

ลวดลายอากาศยาน

แก้
 
OY-KBO ในลวดลายย้อนยุค

ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2019 เอสเอเอสได้เปิดตัวลวดลายใหม่[62] โดยจะเปิดตัวบนแอร์บัส เอ350 และเอ320นีโอ ก่อนที่จะเปิดตัวกับเครื่องบินลำอื่นๆ ในฝูงบิน เอสเอเอสว่าการทำสีเครื่องบินใหม่นี้จะเสร็จสิ้นภายในปี 2024 ในลวดลายนี้ ลำตัวเครื่องบินจะมีสีเบจอ่อนเหมือนกับลวดลายก่อนหน้า และจะมีโลโก้ "SAS" ในสีเงินขนาดใหญ่บริิเวณส่วนหน้าของลำตัวเครื่อง บริเวณส่วนหางจะมีแถบสีน้ำเงินโค้งยาวลงมาจนถึงท้องเครื่อง และมีโลโก้ของสายการบินขนาดเล็กสีขาวบริเวณแพนหาง บริเวณปลายปีกของเครื่องบินขะมีสีน้ำเงิน บริเวณเครื่องยนต์จะมีสีเบจเดียวกันกับลำตัวเครื่องบิน และจะมีแถบสีน้ำเงินบริเวณส่วนหน้า และบริเวณกลางเครื่องยนต์จะมีชื่อสายการบิน "Scandinavian" ในสีน้ำเงินเข้ม และใต้ท้องเครื่องจะมีชื่อสายการบินในลักษณะเดียวกัน[63][64]

ลวดลายก่อนหน้าที่ได้รับออกแบบโดย SthlmLab ได้เปิดตัวในปี 1998 โดยลำตัวเครื่องบินขะมีสีเบจอ่อน และบริวเณส่วนหน้า จะมีชื่อสายการบิน "Scandinavian" ในสีเงินอยู่ด้านบนหน้าต่างผู้โดยสาร และ "Airlines" อยู่ด้านล่างเป็นสีขาว บริเวณแพนหางและปลายปีกจะมีสีน้ำเงินจะมีสำีน้ำเงินและมีโลโก้สายการบินสีขาวอยู่It is a variant of the traditional SAS logotype, slimmed slightly and stylized by the design company Stockholm Design Lab as part of the SAS livery change. The engine casing is painted in scarlet (Pantone Warm Red/Pantone 179C) with the word Scandinavian in white, the thrust reversers in the color of the fuselage. All other text is painted in Pantone Warm Gray 9. The design also features stylized versions of the Scandinavian flags. All aircraft are named, traditionally after Vikings.

นอกเหนือจากลวดลายปกติแล้ว แอร์บัส เอ319 หนึ่งลำสวมลวดลายย้อนยุคของสายการบิน

จุดหมายปลายทาง

แก้

ข้อตกลงการทำการบินร่วม

แก้

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ได้มีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:

ข้อตกลงระหว่างสายการบิน

แก้

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ได้ทำข้อตกลงระหว่างสายการบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:

ฝูงบิน

แก้

ฝูงบินปัจจุบัน

แก้

ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2024 เอสเอเอสมีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้ (รวมฝูงบินของสายการบินที่ดำเนินงานให้กับเอสเอเอส):[74][75][76]

ฝูงบินของสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม
เครื่องบิน ประจำการ คำสั่งซื้อ ผู้โดยสาร หมายเหตุ
C Y M รวม
แอร์บัส เอ319-100 4 150 150 สามลำสวมลวดลายสตาร์อัลไลแอนซ์ หนึ่งลำสวมลวดลายย้อนยุค[77]
แอร์บัส เอ320-200 11 168 168
แอร์บัส เอ320นีโอ 39 18[78][79] 180 180 ส่งมอบจนถึงปี 2025[78]
30 180 180 ให้บริการโดยเอสเอเอสคอนเน็ก[80]
แอร์บัส เอ321แอลอาร์[81] 3 22 12 123 157
แอร์บัส เอ330-300 8 32 56 178 266
แอร์บัส เอ350-900 4 2[82] 40 32 228 300 สั่งซื้อเพิ่มเติมสองลำและจะส่งมอบภายในปี 2024[82]
เอทีอาร์ 72-600 7 70 70 ให้บริการโดยเอกซ์ฟลาย
โบอิง 737-700 1 เคลื่อนย้ายผู้ป่วย ใช้เป็นเครื่องบินขนย้ายผู้ป่วยให้กับกองทัพนอร์เวย์และคณะกรรมการกิจการด้านสุขภาพและสังคมแห่งชาติ[83]
บอมบาร์ดิเอร์ ซีอาร์เจ900 6 88 88 ให้บริการโดยเอกซ์ฟลาย
1 88 88 ให้บริการโดยซิตีเจ็ต
10 90 90
เอ็มบราเออร์ อี195 4 114 114 ให้บริการโดยเอสเอเอสลิงก์[84][85]
4 120 120
2 122 122
รวม 134 20

เอสเอเอสมีอายุฝูงบินเฉลี่ย 8.8 ปี (ไม่รวมฝูงบินของสายการบินที่ดำเนินงานให้กับเอสเอเอส)

บริการ

แก้

โปรแกรมสะสมไมล์

แก้

เอสเอเอสได้จัดตั้งโปรแกรมสะสมไมล์ในชื่อ ยูโรโบนัส โดยสมาชิกจะได้รับคะแนนจากเที่ยวบินเอสเอเอสทั้งหมด เที่ยวบินไวเดอร์โรว์บางส่วนที่ไม่ทับซ้อนกับของเอสเอเอส (ยกเว้นปฏิบัติการบริการสาธารณะ) และเที่ยวบินของสายการบินในเครือสตาร์อัลไลแอนซ์ โปรแกรมยูโรโบนัสสร้างรายได้ให้แก่เอสเอเอสได้ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของรายได้รวมทั้งหมด ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 โยูโรโบนัสมีสมาชิกมากกว่าสี่ล้านคน[86]

ห้องโดยสาร

แก้
 
การบริการผู้โดยสารของเอสเอเอสบนเที่ยวบินในปี 1969

เอสเอเอสบิซเนส (ชั้นธุรกิจ)

แก้

เอสเอเอสให้บริการที่นั่งชั้นธุรกิจ SAS Business ในเที่ยวบินระยะไกล บนเครื่องบินเอ330 และเอ350 จะมีการจัดเรียงที่นั่งแบบ 1-2-1 ที่นั่งจะสามารถกลางออกเป็นที่นอนราบได้ โดยจะกางได้ยาวถึง 196–202-เซนติเมตร (6.43–6.63-ฟุต) พร้อมกับปลั๊กไฟและหน้าจอความบันเทิงขนาด 15-นิ้ว (380-มิลลิเมตร) บนเอ321แอลอาร์ จะมีการจัดที่นั่งแบบ 2-2 และ 1-1 สลับกันและที่นั่งสามารถกางออกเป็นที่นอนราบได้[87]

เอสเอเอสพลัส (ชั้นประหยัดพรีเมียม)

แก้

ที่นั่งชั้นประหยัดพรีเมยีม หรือ เอสเอเอสพลัส จะมีการจัดเรียงแบบ 2-3-2 และ 2-4-2 บนเครื่องเอ330 และ 2-2 บนเอ350 และเอ321แอลอาร์ ที่นั่งเอสเอเอสพลัสจะมขนาดที่นั่งกว้างว่าที่นั่งของเอสเอเอสโก

ในเที่ยวบินระยะใกล้หรือเที่ยวบินในยุโนป ตั๋วเอสเอเอสพลัสจะรวมอาหาร สิทธิการโหลกสัมภาระได้ถึงสองชิ้น สิทธิการใช้้องรับรองในท่าอากาศยาน และสามารถคืนเงินได้ในทุกกรณี ที่นั่งเอสเอเอสพลัสจะตั้งอยู่ด้านหน้าของที่นั่งชั้นประหยัดบนเครื่องบิน โดยผู้โดยสารสามารถเลือกที่นั่งได้ฟรี ที่นั่งจะมีลักษณะเหมือนกับของ เอสเอเอสโก หรือชั้นประหยัด สายการบินเริ่มใช้ระบบที่นั่งโดยสารสองชั้นในเที่ยวบินระยะใกล้ในเดือนมถุนายน ค.ศ. 2013 เมื่อเอสเอเอสยกเลิกที่นั่งชั้นธุรกิจในเที่ยวบินภายในทวีปทั้งหมด[88]

เอสเอเอสโก (ชั้นประหยัด)

แก้

ที่นั่งชั้นประหยัด หรือ เอสเอเอสโก บนเที่ยวบินระยะใกล้จะจัดเรียงแบบ 3-3 แบบ 2-4-2 บนเอ330 และแบบ 3-3-3 บนเอ350

เอสเอเอสให้บริกาชาหรือกาแฟให้กับผู้โดยสารชั้นประหยัดบนเที่ยวบินระยะใกล้ ยกเว้นเที่ยวบินที่มีระยะใกล้พิเศษเช่น บาร์เกิน-สตาวังเงอร์ หรือ สต็อกโฮล์ม-วีสบี ในเที่ยวบินระยะไกลจะมีอาหารให้บริการให้กับผู้โดยสารทุกคน

เอสเอเอสโกไลท์

แก้

ที่นั่งชั้น เอสเอเอสโกไลท์ เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของที่นั่งชั้นประหยัด เอสเอเอสโก โดยที่ไม่สามารถสัมภาระโหลดใต้ท้องเครื่องได้ การจำหน่ายตั๋วจะจำหน่ายคล้ายกันกับเอสเอเอสโก ณ วันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2017 เอสเอเอสโกไลท์จะมีให้บริการทั้งเที่ยวบินระยะใกล้และระยะไกล เอสเอเอสเปิดตัวที่นั่งชั้นนี้เพื่อแข่งขันกับสายการบินราคาประหยัดสำหรับผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางด้วยกระเป๋าถือขึ้นเครื่องเท่านั้น ผู้โดยสารที่มีสิทธิสตาร์อัลไลแอนซ์โกลด์ และยูโรโบนัส ซิลเวอร์ โกลด์ หรือไดมอนต์จะไม่สามารถใช้สิทธิเพิ่มน้ำหนักกระเป๋าได้เว้นแต่ผู้โดยสารที่ถือสิทธิยูโรโบนัส แพนดิออนเท่านั้น

หมายเหตุ

แก้
  1. ในปี 2012 บริษัทเปลี่ยนปีปีงบประมาณเป็นระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน – 31 ตุลาคมแทนปีปฏิทิน[54] ผลประกอบการก่อนหน้าจึงเป็นของช่วงเวลาก่อนวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปีจนถึงปี 2011สำหรับรอบ 10 เดือนถึงวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2012 และสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคมนับจากนั้นมา
  2. ผลประกอบการในปี 2020 ได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการระบาดทั่วของโควิด-19[61]

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 aerointernational.de - "SAS leaves Star Alliance" (German) 9 April 2024
  2. "SAS Scandinavian Airlines on ch-aviation.com". ch-aviation.com. สืบค้นเมื่อ 21 November 2023.
  3. 3.0 3.1 3.2 "History milestones - SAS". www.sasgroup.net.
  4. "SAS | Scandinavian Airlines – Book your next flight on Flysas.com". www.flysas.com (ภาษาอังกฤษ).
  5. "Fra krystall til papp – etter over 70 år selger staten seg ut av SAS". 27 June 2018. สืบค้นเมื่อ 3 October 2018.
  6. "Wayback Machine" (PDF). web.archive.org. 2008-11-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-11-25. สืบค้นเมื่อ 2021-12-20.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  7. Jacob-Phillips, Sherry (27 June 2018). "Norway sells remainder stake in SAS airline". Reuters.
  8. "Norway to sell remaining SAS airline stake". 27 June 2018.
  9. "SAS reaches major milestone in SAS FORWARD – announces the winning consortium, including details of the transaction structure - SAS". www.sasgroup.net (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-10-04.
  10. "Historie". SAS.
  11. "Presidents of SAS, beginning in 1946". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  12. 12.0 12.1 "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  13. Lionel, Daniel (2 March 1947). "Along The Airways". Brooklyn Daily Eagle. สืบค้นเมื่อ 30 September 2020.
  14. Buraas, Anders (1979). The SAS Saga: A History of Scandinavian Airlines System. SAS. p. 13. ISBN 82-90212-00-3.
  15. 15.0 15.1 "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  16. 16.0 16.1 16.2 16.3 "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  17. "SAS timeline More than 60 years in the sky" (PDF). flysas.com. สืบค้นเมื่อ 2 November 2014.
  18. "SAS: The United Nations of the Air". Boeing. สืบค้นเมื่อ June 26, 2023.
  19. Otto, K. (10 July 2022). "The rise and fall of Swissair". Key.Aero.
  20. "4 European Air Carriers Scrap Plan for Merger: Transportation: The airlines had hoped to form a 'fortress' to compete with lower-cost flights". Los Angeles Times. Times Wire Services. 22 November 1993.
  21. Ruigrok, Winfried (2004). "A tale of strategic and governance errors: the failings which caused the demise of Swissair were aggravated by the convergence of several industry developments". European Business Forum (Spring).
  22. "Presidents of SAS, beginning in 1946". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  23. 23.0 23.1 23.2 "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  24. Tagliabue, John (15 May 1997). "5 Airlines Extend Limits of Alliances". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 16 October 2010.
  25. "Press Release: SAS Braathens to be renamed SAS Norge". Waymaker (via SAS Group Press Release Archive). สืบค้นเมื่อ 23 March 2010.
  26. Nicholson, Chris V. (1 October 2009). "SAS Sells Remaining Stake in BMI to Lufthansa". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 18 November 2012.
  27. Roberts, Martin; และคณะ (30 January 2009). "SAS sells Spanair for 1 euro, takes big charge". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 August 2014. สืบค้นเมื่อ 18 November 2012.
  28. "Company history". airBaltic.com. airBaltic. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2013. สืบค้นเมื่อ 18 November 2012.
  29. "SAS – press release (in Swedish)". Cision Wire. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2009. สืบค้นเมื่อ 30 January 2009.
  30. 30.0 30.1 "Nightmare for trade unions in Copenhagen". Dagens Industri. 19 November 2012. สืบค้นเมื่อ 17 December 2012.
  31. O'Halloran, Barry (28 February 2017). "SAS Irish subsidiary to begin flights in November". The Irish Times. Dublin. สืบค้นเมื่อ 29 May 2018.
  32. Sumers, Brian (14 June 2017). "Why Scandinavia's SAS Is Creating a New Airline With the Same Name in Ireland". Skift. สืบค้นเมื่อ 29 May 2018.
  33. Burke-Kennedy, Eoin (7 May 2017). "Aviation recruitment firm creates 80 new jobs as part of Irish expansion". The Irish Times. Dublin. สืบค้นเมื่อ 29 May 2018.
  34. "Facket om nya SAS-bolaget". Svenska Dagbladet (ภาษาสวีเดน). Stockholm: Schibsted Media Group. 16 November 2017. สืบค้นเมื่อ 14 January 2018.
  35. "SAS ger personalen usla villkor". Svenska Dagbladet (ภาษาสวีเดน). Stockholm: Schibsted Media Group. 23 November 2017. สืบค้นเมื่อ 31 January 2018.
  36. "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  37. "Shell starts supplying sustainable fuel at Californian airport". Biofuels International (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 12 December 2018. สืบค้นเมื่อ 25 April 2019.
  38. Bates, Joe. "Sustainable aviation fuel available at San Francisco International Airport". www.airport-world.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 April 2019. สืบค้นเมื่อ 25 April 2019.
  39. "State aid: Commission approves €300 million Swedish and Danish subsidised interest rate loans to SAS in context of coronavirus outbreak". AVIATOR (ภาษาอังกฤษ). 2021-07-13. สืบค้นเมื่อ 2021-07-21.
  40. "SAS to launch two new subsidiaries". ch-aviation. 1 October 2021.
  41. Kiminski-Morrow, David (30 November 2021). "SAS to introduce new Connect and Link operating arms at Copenhagen". FlightGlobal. DVV Media Group. สืบค้นเมื่อ 11 January 2022.
  42. "SAS to launch Connect, Link brands in 1Q22". ch-aviation. 3 December 2021. สืบค้นเมื่อ 11 January 2022.
  43. Terje Solsvik, Stine Jacobsen (7 มิถุนายน 2565). "Airline SAS will get no more cash from Swedish government". Reuters. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2565. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  44. Ildor, Astrid (2022-06-07). "Svensk SAS-melding efterlader Danmark med stort problem" (ภาษาเดนมาร์ก). DR. สืบค้นเมื่อ 2022-06-07.
  45. "SAS søker konkursbeskyttelse i USA" (ภาษานอร์เวย์บุคมอล). NRK. 5 July 2022. สืบค้นเมื่อ 5 July 2022.
  46. flightglobal.com - SAS seeks to shed A350s and A330s as part of fleet-restructuring plan 6 September 2022
  47. aero.de - "Who's gonna buy a nearly new A350 from SAS?" (German) 9 November 2022
  48. Schlappig, Ben (2023-10-03). "Scandinavian Airlines Joining SkyTeam, Getting Air France-KLM Investment". One Mile at a Time (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2023-10-04.
  49. "Scandinavian airline SAS says Castlelake, Air France-KLM to become new shareholders". reuters. 3 October 2023. สืบค้นเมื่อ 3 October 2023.
  50. aerointernational.de - "SAS leaves Star Alliance" (German) 9 April 2024
  51. "SAS Group Annual report 2009" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 7 September 2013.
  52. "Annual Report & Sustainability Report 2010" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 13 December 2011.
  53. "Annual Report & Sustainability Report 2011" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 24 August 2012.
  54. "Resolutions approved by the 2012 Annual General Shareholders' Meeting of SAS AB". SAS Group. สืบค้นเมื่อ 24 August 2012.
  55. "SAS Group: Year-end report January – October 2012" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 30 December 2012.
  56. "SAS Group: Y4th Quarter 2012" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 7 September 2013.
  57. "SAS Group Year-end report November2012 – October2013" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 14 March 2014.
  58. "SAS Group Annual Report with Sustainability Review November 2013 – October 2014" (PDF). SAS Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 April 2022. สืบค้นเมื่อ 1 March 2015.
  59. 59.0 59.1 "SAS Annual Report Fiscal Year 2018" (PDF). SAS Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 December 2022. สืบค้นเมื่อ 30 August 2019.
  60. "SAS Annual and Sustainability Report Fiscal Year 2019" (PDF). SAS Group. 29 January 2020. สืบค้นเมื่อ 21 May 2020.
  61. 61.0 61.1 "SAS Annual and Sustainability Report Fiscal Year 2020" (PDF). SAS Group. 1 February 2021. สืบค้นเมื่อ 28 December 2021.
  62. "The Scandinavian Way". www.flysas.com. Scandinavian Airlines System. สืบค้นเมื่อ 20 September 2019.
  63. "Fleet". SAS Group. สืบค้นเมื่อ 14 October 2020.
  64. "Aircraft on order". SAS Group. สืบค้นเมื่อ 14 October 2020.
  65. https://www.aeroroutes.com/eng/240417-ska3codeshare
  66. Liu, Jim (24 May 2019). "airBaltic resumes SAS codeshare partnership from June 2019". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 24 May 2019.
  67. "El Al / SAS Begins Codeshare Partnership From Feb 2024". AeroRoutes (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). 29 January 2024. สืบค้นเมื่อ 29 January 2024.
  68. "Etihad / SAS resumes codeshare partnership fron Jan 2024". aeroroutes.com. 25 December 2023.
  69. "SAS Resumes LOT Polish Airlines Codeshare in NW23".
  70. Liu, Jim (27 March 2017). "Luxair / SAS begins codeshare service from March 2017". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 6 January 2020.
  71. Orban, André (2024-03-25). "SAS and Turkish Airlines terminate codeshare deal". Aviation24.be (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2024-03-26.
  72. "Air Greenland and SAS Enters a New and Enhanced Cooperation". Airgreenland.com. 21 August 2013. สืบค้นเมื่อ 17 March 2014.
  73. "Interline and Codeshare Travel". Pakistan International Airlines.
  74. https://www.sasgroup.net/files/Main/290/3827810/sas-q3-2023_eng.pdf
  75. "Fleet". SAS Group. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
  76. "SAS Fleet in Planespotters.net". planespotters.net. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
  77. flightglobal.com - Picture: Sneak preview of SAS retro livery, appearing on an Airbus A319 in Finkenwerder 27 July 2006
  78. 78.0 78.1 "SAS places order for an additional 50 Airbus A320neo aircraft to create a single-type fleet - SAS". SAS. สืบค้นเมื่อ 3 October 2018.
  79. https://www.sasgroup.net/files/documents/financial-reports/2023-q3/SAS_Q3_2023_presentation.pdf
  80. "Latest Register and Monthly Changes". www.iaa.ie. สืบค้นเมื่อ 2022-11-10.
  81. "SAS expands its fleet – leases three A321 Long Range - SAS". SAS. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  82. 82.0 82.1 ch-aviation.com - Ex-SAS A350-900 up for sale 6 June 2023
  83. "Final SAS Boeing 737 Becomes A Medevac Aircraft". Simple Flying. 6 February 2024.
  84. "SAS skal have Embraer-fly". 23 September 2021.
  85. "Sweden's SAS Link adds first E195". Ch-Aviation. 21 December 2021.
  86. "SAS celebrates four million EuroBonus members". 21 August 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 August 2015.
  87. "First New A321LR to Enter SAS Fleet". SAS. สืบค้นเมื่อ 17 September 2020.
  88. Elliott, Mark. "SAS revamps cabin classes". Travel Daily Media. สืบค้นเมื่อ 12 June 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้


ท่าอากาศยานและอวกาศยานโมฮาวี

แก้
ท่าอากาศยานและอวกาศยานโมฮาวี

Mojave Air and Space Port
 
 
โมฮาวีในปี ค.ศ. 2023
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ
เจ้าของแอร์พอร์ตดิสทริค
ผู้ดำเนินงานอีสต์เคอร์นแอร์พอร์ตดิสทริค
พื้นที่บริการโมฮาวี
ที่ตั้งโมฮาวี รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ
เปิดใช้งานค.ศ. 1935
ฐานการบินเวอร์จินกาแลกติก
เหนือระดับน้ำทะเล2,801 ฟุต / 854 เมตร
พิกัด35°03′34″N 118°09′06″W / 35.05944°N 118.15167°W / 35.05944; -118.15167
เว็บไซต์www.mojaveairport.com
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
12/30 12,503 3,811 แอสฟอลต์คอนกรีต
08/26 7,049 2,149 แอสฟอลต์
04/22 4,746 1,447 แอสฟอลต์

ท่าอากาศยานและอวกาศยานโมฮาวี ณ ทุ่งรูทัน[2] (อังกฤษ: Mojave Air and Space Port at Rutan Field) (IATA: MHVICAO: KMHV) เป็นท่าอากาศยานและท่าอวกาศยานที่ตั้งอยู่ในโมฮาวี รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ ดำเนินการเป็นท่าอากาศยาน

ประวัติ

แก้
 
ตราสัญลักษณ์เอ็มซีเอเอสโมฮาวีบนหน้าไม้ขีดไฟ

ในปี 1935 เทศมณฑลเคอร์นได้จัดตั้ง ท่าอากาศยานโมฮาวี ขึ้น ห่างจากโมฮาวี รัฐแคลิฟอร์เนียทางตะวันออกประมาณ 0.8 กิโลเมตร (0.5 ไมล์) เพื่อให้บริการกิจการเหมืองแร่ทองคำและเงินในพื้นที่ โดยเริ่มแรกมีทางวิ่งดินสองเส้น แต่ไม่มีจุดบริการเชื้อเพลิงหรือสิ่งอำนวยความสะดวกใดๆ ในปี 1941 คณะกรรมการการบินพลเรือน (ซีเอบี) ได้เข้ามาปรับปรุงท่าอากาศยานเพื่อใช้ในการทหาร โดยได้สร้างทางวิ่งแอสฟอล์ตสองเส้นที่ความยาว 1,372 เมตรและกว้าง 46 เมตร (ยาว 4,500 ฟุต, กว้าง 150 ฟุต) และทางขับเครื่องบิน โดยเทศมณฑลเคอร์นได้อนุญาตให้ซีเอบีเข้ามาใช้ท่าอากาศยานในช่วงสงคราม[3]

หลังการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์โดยจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1941 เหล่านาวิกโยธินสหรัฐได้เข้มาใช้ท่าอากาศยาน โดยได้จัดตั้งเป็น

กิจกรรม

แก้

โครงการทดสอบ

แก้

สมุดภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. FAA Airport Master Record for MHV (Form 5010 PDF), effective June 21, 2018.
  2. Editor, Curt Epstein • Senior. "Mojave Airport Honors Rutan Name | AIN". Aviation International News. {{cite web}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  3. "Historic California Posts: Marine Corps Air Station, Mojave". web.archive.org. 2015-04-24.

กีฬาสาธิตสามัคคี ครั้งที่ 46

แก้
กีฬาสาธิตสามัคคีครั้งที่ 46
เจ้าภาพโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำขวัญกีฬาสาธิต ผูกมิตรสัมพันธ์ สามัคคีกัน ร่วม "ฉัททันต์เกมส์"'
ทีมเข้าร่วม22 โรงเรียน
กีฬา18 ชนิดกีฬา
พิธีเปิด4 พฤศจิกายน 2566 (2566-11-04)
พิธีปิด10 พฤศจิกายน 2566 (2566-11-10)
เว็บไซต์ทางการchattangames.edu.cmu.ac.th

การแข่งขันกีฬาสาธิตสามัคคีครั้งที่ 46 "ฉัททันต์เกมส์" เป็นมหกรรมกีฬาระหว่างโรงเรียนสาธิตในประเทศที่อยู่ภายใต้มหาวิทยาลัยในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 4 - 10 พฤศจิากยน พ.ศ. 2566 โดยได้มีโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน

การเตรียมความพร้อมและพัฒนาการ

แก้

การตลาด

แก้

สัญลักษณ์

แก้

มาสคอต

แก้

คำขวัญ

แก้

เหรียญรางวัล

แก้

เพลงประกอบ

แก้

สนามแข่ง

แก้

การแข่งขัน

แก้

พิธีเปิด

แก้

เจ้าภาพจัดแข่งขันจะต้องจัดการแสดงเปิดงาน โดยจะมีการแสดงโชว์เชียร์จากโรงเรียนเจ้าภาพและโรงเรียนอื่น ๆ (ถ้ามี) และการแสดงเปิดงานจากเจ้าภาพ โดยอาจมีหลายชุดได้ จากนั้นจะมีการเคลื่อนขบวนพาเหรดนักกีฬาของแต่ละสถาบันเข้าสู่สนาม ประธานคณะอำนวยการจัดการแข่งขันจึงจะกล่าวเปิดงาน เชิญธงการแข่งขันขึ้นสู่ยอดเสา และจะมีการแสดงอัญเชิญคบเพลิงและจุดไฟเป็นอันเสร็จพิธี ทั้งนี้พิธีเปิดในแต่ละครั้งจะขึ้นอยู่กับเจ้าภาพในการจัดพิธี

กีฬา

แก้

ปฏิทินการแข่งขัน

แก้

ต่อไปนี้เป็นปฏิทินการแข่งขันที่เผยแพร่ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2566[1]

OC พิธีเปิด การแข่งขันรอบทั่วไป การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ CC พิธีปิด
พฤศจิกายน

พ.ศ. 2566

04

ส.

05

อา.

06

จ.

07

อ.

08

พ.

09

พฤ.

10

ศ.

รายการ
พิธีการ OC CC
  กรีฑา
  กอล์ฟ
  ซอฟต์บอล 12
  เซปักตะกร้อ 16
  เทนนิส
  เทเบิลเทนนิส 103
  บาสเกตบอล 65
  แบดมินตัน 144
  เปตอง
  ฟุตซอล 45
  ฟุตบอล 34
  ลีลาศ 92
  วอลเลย์บอล 57
  ว่ายน้ำ 49
  หมากกระดาน 41
  ฮอกกี 45
  แฮนด์บอล 27
  เทคบอล '26
รายการทั้งหมด 756
พฤศจิกายน

พ.ศ. 2566

04

ส.

05

อา.

06

จ.

07

อ.

08

พ.

09

พฤ.

10

ศ.

รายการ

โรงเรียนที่เข้าร่วม

แก้

ในการแข่งขันครั้งนี้มีโรงเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 22 โรงเรียน ดังนี้:[2]

โรงเรียนสาธิตที่เข้าร่วมแข่งขัน
  1. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
  2. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
  3. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น
  4. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
  5. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)
  6. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมัธยม)
  7. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  8. โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
  9. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา
  10. โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา
  11. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม)
  12. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
  13. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายประถม)
  14. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายมัธยม)
  15. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
  16. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม)
  17. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
  18. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์
  19. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและประถมศึกษา)
  20. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา)
  21. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายประถมศึกษา)
  22. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา)

สรุปเหรียญการแขังขัน

แก้

ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 มีการได้รับเหรียญรางวัลใน 10 อันดับแรกดังนี้:

ลำดับที่ โรงเรียน ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สาธิตประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) 56 46 64 166
2 สาธิตเกษตร 55 58 65 178
3 สาธิตประสานมิตร (ฝ่ายประถม) 54 46 30 130
4 สาธิตปทุมวัน 54 40 46 140
5 สาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายมัธยม) 40 45 27 112
6 สาธิตรามคำแหง (ฝ่ายมัธยม) 38 29 42 109
7 สาธิตขอนแก่น 29 24 28 81
8 สาธิตบูรพา 24 31 36 91
9 สาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) 22 27 40 89
10 สาธิตรามคำแหง (ฝ่ายประถม) 18 15 29 62
11-22 โรงเรียนที่เหลือ 53 76 102 231
รวม (22 โรงเรียน) 443 437 509 1389

อ้างอิง

แก้
  1. เว็บมาสเตอร์ (2023-10-07). "กำหนดการแข่งขันกีฬาสาธิตสามัคคี ครั้งที่ 46". ฉัททันต์เกมส์ กีฬาสาธิตสามัคคี ครั้งที่ 46.
  2. เว็บมาสเตอร์ (2023-03-29). "สถาบันที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาสาธิตสามัคคี". ฉัททันต์เกมส์ กีฬาสาธิตสามัคคี ครั้งที่ 46.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้