โคเรียนแอร์

โคเรียนแอร์ (เกาหลี대한항공; ฮันจา大韓航空) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเกาหลีใต้ และเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุด มีสำนักงานใหญ่ที่โซล มีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอนและท่าอากาศยานกิมโป นอกจากนี้ยังมีท่าอากาศยานรองอีก คือ ท่าอากาศยานนานาชาติเชจู และท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ เมืองปูซาน[1] เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสกายทีม

โคเรียนแอร์
대한항공
大韓航空
Daehan Hanggong
KoreanAir logo.svg
IATA ICAO รหัสเรียก
KE KAL KOREAN AIR
ก่อตั้งมิถุนายน ค.ศ. 1962 (60 ปี)
(ในชื่อ Korean Air Lines)
เริ่มดำเนินงาน1 มีนาคม ค.ศ. 1969 (1969-03-01) (54 ปี)
ท่าหลักโซล-อินชอน
โซล-กิมโป
เมืองสำคัญกิมแฮ
เชจู
สะสมไมล์สกายพาส
พันธมิตรการบินสกายทีม
สกายทีมคาร์โก้
บริษัทลูกแอร์โคเรีย
แอร์โททอลเซอร์วิส
ไซเบอร์สกาย
โกลบอลโลจิสติกซิสเต็ม โคเรีย
เอชไอเอสที
จินแอร์
โคเรียแอร์พอร์ทเซอร์วิส
ขนาดฝูงบิน164
จุดหมาย121
บริษัทแม่ฮันจิน กรุ๊ป
สำนักงานใหญ่เกาหลีใต้ โซล, ประเทศเกาหลีใต้
บุคลากรหลักWalter Cho (ประธานและ CEO)
เว็บไซต์http://www.koreanair.com/

แต่เดิมสายการบิน โคเรียนแอร์ นั้นก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลเกาหลีใต้ในปี 1962[2] ต่อมาในเดือนมีนาคม ปี1969 กลุ่มบริษัท ฮันจินอินดัสตรีกรุ๊ป (Hanjin Transport Group) ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มแชโบล ที่ก่อตั้งโดยนาย โช ชุง-ฮุน บิดาของนาย โช ยัง-โฮ เข้าถือหุ้นใหญ่และเป็นผู้บริหารสายการบินโคเรียนแอร์ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โคเรียนแอร์ เคยเสียเครื่องบิน โบอิง 747 ไปถึง 5 ลำ อาทิ โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 โคเรียนแอร์ เที่ยวบินที่ 801 โคเรียนแอร์คาร์โก เที่ยวบินที่ 8509 โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 015 โคเรียนแอร์ เที่ยวบินที่ 8702

จุดหมายปลายทางแก้ไข

ข้อตกลงการบินร่วมแก้ไข

ณ เดือนธันวาคม ค.ศ. 2022 โคเรียนแอร์ได้ทำข้อตกลงการบินร่วมกันกับสายการบินดังต่อไปนี้:[3][4]

ข้อตกลงระหว่างสายการบินแก้ไข

โคเรียนแอร์มีข้อตกลงกับสายการบินดังต่อไปนี้:

โคเรียนแอร์ยังเป็นสายการบินพันธมิตรของสกายวาร์ด ซึ่งเป็นโปรแกรมสะสมไมล์ของเอมิเรตส์ สมาชิกสกายวาร์ดสามารถสะสมไมล์บนเที่ยวบินของโคเรียนแอร์และสามารถแลกไมล์สะสมสำหรับเที่ยวบินได้

ฝูงบินแก้ไข

ฝูงบินในปัจจุบันแก้ไข

ณ เดือนธันวาคม ค.ศ. 2022 โคเรียนแอร์มีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังต่อไปนี้:[11][12][13][14]

ฝูงบินโคเรียนแอร์ในปัจจุบัน
ชนิดเครื่องบิน ประจำการ สั่งซื้อ ชั้นที่นั่ง หมายเหตุ
F C Y รวม
แอร์บัส เอ220-300 10 140 140 สั่งซื้อพร้อม 10 ตัวเลือกและ 10 สิทธิ์การสั่งซื้อ[15]
แอร์บัส เอ321นีโอ 1 29 8 174 182 สั่งซื้อพร้อม 20 ตัวเลือก[16]
เริ่มส่งมอบในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2022[17]
แอร์บัส เอ330-200 8 30 188 218 ลูกค้าเปิดตัว
ฝูงบินบางส่วนถูกพักการบินเพื่อความปลอดภัย[18][19]
แอร์บัส เอ330-300 21 24 248 272 ฝูงบินบางส่วนถูกพักการบินเพื่อความปลอดภัย[18][19]
24 252 276
24 260 284
แอร์บัส เอ380-800 10 12 94 301 407 จะถูกปลดประจำการภายในปี 2026[20]
โบอิง 737-800 2 12 126 138
โบอิง 737-900 10 8 180 188
โบอิง 737-900ER 6 8 165 173
โบอิง 737 แมกซ์ 8 5 25 8 138 146 สั่งซื้อพร้อม 20 ตัวเลือก[21]
เริ่มส่งมอบในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022[22]
โบอิง 747-8I 9 6 48 314 368 จะถูกปลดประจำการภายในปี 2031[20]
โบอิง 777-200ER 10 8 28 225 261
โบอิง 777-300 4 41 297 338
โบอิง 777-300อีอาร์ 25 8 42 227 277
8 56 227 291
โบอิง 787-9 10 10[23] 24 245 269 สั่งซื้อพร้อม 10 ตัวเลือก[24]
คำสั่งซื้อได้เปลี่ยนจาก 787-8[25][26]
โบอิง 787-10 20[23] TBA มีแผนส่งมอบในปี 2022[27]
ฝูงบินของ โคเรียนแอร์คาร์โก
โบอิง 747-400ERF 4 สินค้า
โบอิง 747-8F 7 สินค้า
โบอิง 777F 12 สินค้า
ฝูงบินของโคเรียนแอร์ บิซิเนสเจ็ต[28][29]
ออกัสตาเวสต์แลนด์ เอดับเบิลยู139 4 8–14
โบอิง 737-700/BBJ1 1 16–26
โบอิง 787-8/BBJ 1 39 [30][31]
บอมบาร์ดิเอร์ โกลบอลเอกซ์เพรส เอกซ์อาร์เอส 1 13
กัลฟ์สตรีม จี650อีอาร์ 1 13 [32]
ซิคอร์สกี เอส-76+ 1 5–6
Total 163 84

ฝูงบินในอดีตแก้ไข

ดูเพิ่มแก้ไข

อ้างอิงแก้ไข

  1. "Directory: World Airlines". Flight International. 2007-04-03. p. 102.
  2. "대한항공(A003490) | 지분분석 | 기업정보 | Company Guide". comp.fnguide.com.
  3. "Codeshare Flights". Korean Air. Seoul: Hanjin Group. Retrieved April 15, 2022.
  4. "Korean Air Airline Profile | CAPA". centreforaviation.com.
  5. "Korean Air / Aurora begins codeshare partnership from July 2018". Routesonline. July 12, 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 12, 2018. สืบค้นเมื่อ July 12, 2018.
  6. "Delta and Korean Air to expand partnership". Delta Air Lines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 31, 2017. สืบค้นเมื่อ March 29, 2017.
  7. Hawaiian Airlines (March 22, 2011). "Hawaiian Airlines, Korean Air Team Up On Frequent Flyer Benefits". Hawaiian Airlines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 2, 2017. สืบค้นเมื่อ April 25, 2017.
  8. "Korean Air expands LATAM codeshare to Brasil in Nov 2018". Routesonline. November 29, 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 14, 2021. สืบค้นเมื่อ November 30, 2018.
  9. "Korean Air is Royal Brunei Airlines' latest codeshare partner". Royal Brunei Airlines. 4 September 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 16, 2020. สืบค้นเมื่อ January 16, 2020.
  10. "JetBlue and Korean Air Announce New Interline Agreement to Connect Customers Between Asia and North America". PR Newswire. 28 February 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 23, 2019. สืบค้นเมื่อ March 23, 2019.
  11. "Fleet". Korean Air. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 18, 2017. สืบค้นเมื่อ January 17, 2017.
  12. "Business Jet Services". Korean Air. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 26, 2016. สืบค้นเมื่อ August 18, 2016.
  13. "항공기 등록현황". Ministry of Land, Infrastructure and Transport of Korea (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 29, 2020. สืบค้นเมื่อ August 7, 2020.
  14. "Korean Air Lines Fleet Details and History". planespotters.net. December 30, 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 24, 2016. สืบค้นเมื่อ December 30, 2016.
  15. "Korean Air becomes the third operator of the Bombardier CS300". World Airline News. December 22, 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 27, 2018. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.
  16. "Korean Air finalises order for 30 A321neo" (Press release). Airbus. November 6, 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 18, 2018. สืบค้นเมื่อ April 17, 2018.
  17. "대한항공, '친환경 항공기' A321네오 도입…하늘길 확대" [Korean Air, introduces ‘Eco-Frendly’aircraft, Airbus A321neo…expand its network] (ภาษาเกาหลี). Financial News. 31 October 2022.
  18. 18.0 18.1 Hardiman, Jake (2022-11-04). "Korean Air Will Take 24 Airbus A330s Out Of Service For Intensive Inspections". Simple Flying (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-11-08.
  19. 19.0 19.1 Polek, Gregory. "Korean Air Launches Special Safety Audit of A330s". Aviation International News (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-11-08.
  20. 20.0 20.1 "Korean Air to phase out superjumbo jets within decade". Yonhap News Agency. 20 August 2021.
  21. "Boeing, Korean Air Finalize Order for 30 737 MAXs, Two 777-300ERs" (Press release). Boeing. 5 November 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 8, 2018. สืบค้นเมื่อ December 20, 2020.
  22. "Korean Air introduces its first Boeing 737-8" (Press release). Korean Air. 14 February 2022.
  23. 23.0 23.1 "Korean Air to Introduce Boeing 787-10 for First Time in Korea" (Press release). Korean Air. 19 June 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 16, 2020. สืบค้นเมื่อ January 16, 2020.
  24. "Korean Air Joins Boeing 787 Family with up to 20-Airplane Order". Boeing. April 11, 2005. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 12, 2018. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.
  25. "Boeing Delivers Korean Air's First 787-9 Dreamliner". February 22, 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 23, 2017. สืบค้นเมื่อ February 22, 2017.
  26. Ghim-Lay Yeo. "Korean Air converts 10 787-8s to -9s". Singapore: Flight International. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 21, 2011. สืบค้นเมื่อ December 23, 2016.
  27. "Korean Air to fund Boeing Dreamliner order via "green" bonds". aerotime.aero. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-28. สืบค้นเมื่อ 28 September 2021.
  28. "Korean Air business jet fleets". Korean Air. สืบค้นเมื่อ 21 June 2022.
  29. Greg Waldron (October 18, 2016). "Korean Air expands business jet charter unit". FlightGlobal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 24, 2017. สืบค้นเมื่อ February 23, 2017.
  30. "[단독]대한항공, 전용기 추가 도입… 첫 고객으로 삼성과 계약" [[Exclusive] Korean Air Introduces Additional Private Jet... Engage Samsung as First Customer] (ภาษาเกาหลี). Donga News. 17 June 2022.
  31. "Korean Air expands private business jet service". The Korea Times. 18 June 2022.
  32. "Korean Air adds maiden Gulfstream G650ER". Ch-Aviation. August 3, 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 27, 2018. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมแก้ไข