เคแอลเอ็ม
เคแอลเอ็ม โรยัลดัตช์ แอร์ไลน์ (ดัตช์: Koninklijke Luchtvaart Maatschappij; หมายถึง อังกฤษ: Royal Aviation Company)[1] เป็นบริษัทลูกของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม โดยก่อนที่จะควบรวมกับแอร์ฟรานซ์นั้น เคแอลเอ็มเป็นสายการบินแห่งชาติของเนเธอร์แลนด์[2] มีท่าอากาศยานหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮล เคแอลเอ็มเป็นหนึ่งในสมาชิกของ แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็มกรุ๊ป และเป็นสมาชิกพันธมิตรสายการบินสกายทีม
![]() | |||||||
| |||||||
ก่อตั้ง | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2462 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ท่าหลัก | ท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮล | ||||||
สะสมไมล์ | Flying Blue | ||||||
พันธมิตรการบิน | สกายทีม สกายทีมคาร์โก | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 110 | ||||||
จุดหมาย | 145 | ||||||
บริษัทแม่ | แอร์ฟรานซ์-เตแอลเอ็ม | ||||||
สำนักงานใหญ่ | ![]() | ||||||
บุคลากรหลัก | Marjan Rintel (ประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร) | ||||||
เว็บไซต์ | www.klm.com |
เคแอลเอ็มได้ถูกก่อตั้งในปีค.ศ. 1919 และเป็นสายการบินที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงให้บริการอยู่ เคแอลเอ็มมีพนักงานอยู่ 35,4888 คน และมีฝูงบิน 110 ลำ[3]
ประวัติ แก้ไข
การควบรวมกิจการกับแอร์ฟรานซ์ แก้ไข
ในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 2003 แอร์ฟรานซ์และเคแอลเอ็ม ได้ประกาศว่าจะมีการควบรวมสายการบินทั้งสองในชื่อใหม่ คือแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม (อังกฤษ: Air France-KLM) และเกิดการควบรวมขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคมในปีต่อมา[4] ด้วยเหตุของการรวมตัวนี้เอง ทำให้ในเดือน ธันวาคม ค.ศ. 2004 รัฐบาลฝรั่งเศสก็แถลงการขายหุ้น 18.4% ให้กับแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม จนทำให้รัฐบาลเองเหลือหุ้นต่ำกว่า 20%
กิจการองค์กร แก้ไข
สำนักงานใหญ่ แก้ไข
สำนักงานใหญ่ของเคแอลเอ็มตั้งอยู่ที่อัมสเทลวีน[5]ใกล้กับท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮล
บริษัทลูก แก้ไข
บริษัทลูกของเคแอลเอ็มมีดังนี้:[6]
บริษัท | ประเภท | กิจการหลัก | สัดส่วนการถือหุ้น |
---|---|---|---|
Transavia Airlines CV | บริษัทลูก | สายการบิน | 100% |
Transavia France (via Transavia Airlines CV) | บริษัทลูก | สายการบิน | 4%[7] |
KLM Cityhopper BV | บริษัทลูก | สายการบิน | 100% |
KLM Cityhopper UK Ltd. | บริษัทลูก | สายการบิน | 100% |
KLM Asia | บริษัทลูก | สายการบิน | 100% |
Martinair Holland NV | บริษัทลูก | สายการบินขนส่งสินค้า | 100% |
EPCOR BV | บริษัทลูก | การบำรุงรักษา | 100% |
KLM Catering Services Schiphol BV | บริษัทลูก | บริการจัดเลี้ยง | 100% |
KLM Equipment Services BV | บริษัทลูก | การสนับสนุนอุปกรณ์ | 100% |
KLM Financial Services | บริษัทลูก | การเงิน | 100% |
KLM Flight Academy BV | บริษัทลูก | โรงเรียนการบิน | 100% |
KLM Health Services BV | บริษัทลูก | บริการสุขภาพ | 100% |
KLM UK Engineering Ltd. | บริษัทลูก | วิศวกรรมและการบำรุงรักษา | 100% |
Cygnific | บริษัทลูก | การขายและบริการ | 100% |
Schiphol Logistics Park | การควบคุมร่วม | โลจิสติก | 53% (45% voting right) |
เคแอลเอ็ม เอเชีย แก้ไข
เคแอลเอ็ม เอเชีย (จีน: 荷蘭亞洲航空公司; พินอิน: Hélán Yàzhōu Hángkōng Gōngsī) เป็นสายการบินลูกของเคแอลเอ็ม โดยมีการจดทะเบียนในไต้หวัน สายการบินก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1995 เพื่อให้บริการเที่ยวบินไปยังไทเปโดยไม่กระทบต่อสิทธิ์การจราจรของเคแอลเอ็ม สำหรับจุดหมายปลายทางในสาธารณรัฐประชาชนจีน[8] เคแอลเอ็มเริ่มให้บริการเที่ยวบินอัมสเตอร์ดัม-กรุงเทพฯ-ไทเป ด้วยเครื่องบินโบอิง 747-400 และโบอิง 747-400 คอมบิ ก่อนเปลี่ยนมาให้บริการเครื่องบินโบอิง 777-200อีอาร์ เจ็ดลำและโบอิง 777-300อีอาร์ สองลำ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012
จุดหมายปลายทาง แก้ไข
เคแอลเอ็มและพันธมิตรทางการบินให้บริการจุดหมายปลายทาง 133 แห่งใน 70 ประเทศในห้าทวีปจากท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮล ข้อตกลงการใช้รหัสร่วมกันทำให้จำนวนปลายทางทั้งหมดที่ให้บริการผ่านเคแอลเอ็มรวมเป็น 826
ข้อตกลงการทำการบินร่วม แก้ไข
เคแอลเอ็มได้ทำข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินดังต่อไปนี้:[9]
- แอโรฟลอต
- แอโรลีเนียสอาร์เจนติน่า
- แอโรเม็กซิโก
- แอร์อัสตานา
- แอร์บอลติก
- แอร์ยูโรปา
- แอร์ฟรานซ์
- แอร์มอลตา
- แอร์เซอร์เบีย
- บางกอกแอร์เวย์
- เบลาเวีย
- บัลแกเรียแอร์
- ไชน่าแอร์ไลน์
- ไชน่าอีสเทิร์นแอร์ไลน์
- ไชน่าเซาท์เทิร์นแอร์ไลน์
- โคปาแอร์ไลน์
- โครเอเชียแอร์ไลน์
- เช็กแอร์ไลน์
- เดลตาแอร์ไลน์
- สายการบินเอทิฮัด
- การูดาอินโดนีเซีย
- จอร์เจียนแอร์เวย์
- โกลลินาสแอเรียส
- อินดิโก[10]
- ไอทีเอแอร์เวย์[11]
- เคนยาแอร์เวย์
- เคแอลเอ็มซิตี้ฮอปเปอร์
- โคเรียนแอร์
- มาเลเซียแอร์ไลน์
- มิดเดิลอีสต์แอร์ไลน์
- เพกาซัสแอร์ไลน์[12]
- ซาอุเดีย
- เสฉวนแอร์ไลน์
- ทารอมแอร์
- ทรานซาเวีย
- เวียดนามแอร์ไลน์
- เวสต์เจ็ต
- ไวเดอโรว์
- เซี่ยเหมินแอร์
ฝูงบิน แก้ไข
ณ เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2022 เคแอลเอ็มมีฝูงบิน ดังนี้[13][14][15]
เครื่องบิน | ประจำการ | คำสั่งซื้อ | ผู้โดยสาร[16] | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
J | Y+ | Y | รวม | ||||
แอร์บัส เอ320นีโอ | — | 100 | TBA | 180 | เริ่มส่งมอบในปีค.ศ. 2023. จะทดแทนโบอิง 737-800 และโบอิง 737-900 คำสั่งซื้อจะถูกแบ่งกับทรานซาเวียและทรานซาเวียฟรานซ์ สั่งซื้อด้วย 60 ตัวเลือก[17] | ||
แอร์บัส เอ321นีโอ | — | TBA | 227 | ||||
แอร์บัส เอ330-200 | 6 | — | 18 | 36 | 214 | 268 | จะถูกปลดประจำการภายในปีค.ศ. 2025[18][19] |
แอร์บัส เอ330-300 | 5 | — | 30 | 40 | 222 | 292 | |
โบอิง 737-700 | 10 | — | 20 | 6 | 106 | 132 | จะถูกปลดประจำการภายในปีค.ศ. 2022[20] |
โบอิง 737-800 | 31 | — | 20 | 6 | 150 | 176 | จะถูกปลดประจำการภายในปีค.ศ. 2023 จะถูกทดแทนด้วยแอร์บัส เอ320นีโอ รวม PH-BCL, โบอิง 737NG ลำสุดท้าย [21] |
โบอิง 737-900 | 5 | — | 28 | 18 | 132 | 178 | จะถูกปลดประจำการภายในปีค.ศ. 2023 จะถูกทดแทนด้วยแอร์บัส เอ320นีโอ[22] |
โบอิง 777-200อีอาร์ | 15 | — | 34 | 40 | 242 | 316 | |
โบอิง 777-300อีอาร์ | 16 | — | 34 | 40 | 334 | 408 | |
โบอิง 787-9 | 13 | — | 30 | 48 | 216 | 294 | |
โบอิง 787-10 | 5 | 10[23] | 38 | 36 | 270 | 344 | |
ฝูงบินของเคแอลเอ็มคาร์โก | |||||||
โบอิง 747-400BCF | 1 | — | สินค้า | ให้บริการโดยมาร์ตินแอร์ | |||
โบอิง 747-400ERF | 3 | — | สินค้า | ||||
รวม | 110 | 110 |
ณ มีนาคม พ.ศ. 2551 อายุการใช้งานเฉลี่ยของฝูงบินของ คือ 10.7 ปี
-
แอร์บัส เอ330-200
-
แอร์บัส เอ330-300
-
โบอิง 737-700
-
โบอิง 737-800
-
โบอิง 737-900
-
โบอิง 777-200อีอาร์
-
โบอิง 777-300อีอาร์
-
โบอิง 787-9
-
โบอิง 787-10
อ้างอิง แก้ไข
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-10. สืบค้นเมื่อ 2022-07-15.
- ↑ "Strikers against reality". The Economist. ISSN 0013-0613. สืบค้นเมื่อ 2022-07-15.
- ↑ http://www.klm.com/corporate/en/about-klm/facts-and-figures/index.html
- ↑ "History". Air France KLM (ภาษาอังกฤษ). 2014-11-26. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-18. สืบค้นเมื่อ 2022-07-15.
- ↑ http://www.klm.com/corporate/en/contact/index.html
- ↑ http://www.klm.com/corporate/en/images/Annual_report_2012_tcm729-436908.pdf
- ↑ "Transavia Frankrijk zo goed als Frans - Up in the Sky".
- ↑ "The KLM Source - KLM Royal Dutch Airlines History". web.archive.org. 2013-07-19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-19. สืบค้นเมื่อ 2022-07-15.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "Partner airlines" เก็บถาวร 2022-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. klm
- ↑ Hannah Brandler (26 December 2021). "Air France-KLM signs codeshare agreement with Indigo Airlines". Business Traveller.
- ↑ "ITA Airways, codeshare con KLM" [ITA Airways, codeshare with KLM]. advtraining.it (ภาษาอิตาลี). 2021-12-03.
- ↑ "Founded With Aer Lingus: The History Of Pegasus Airlines". Simpleflying.com. 2021-11-01. สืบค้นเมื่อ 2022-06-25.
- ↑ "KLM Fleet | Airfleets aviation". web.archive.org. 2016-12-18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-18. สืบค้นเมื่อ 2022-07-15.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "KLM Royal Dutch Airlines Fleet Details and History". www.planespotters.net.
- ↑ "Seating plans" เก็บถาวร 2019-04-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. KLM. Retrieved 3 April 2019.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อseating-plans
- ↑ "KLM Group chooses Airbus A320neo family for KLM and Transavia's European fleet" (Press release). KLM Group. 16 December 2021.
- ↑ Woerkom, Klaas-Jan van (2019-11-05). "KLM neemt definitief afscheid van Airbus A330-vloot". Luchtvaartnieuws (ภาษาดัตช์). สืบค้นเมื่อ 2020-05-22.
- ↑ "KLM Is In Discussions About Early Airbus A330 Retirement". Simple Flying. 5 October 2020.
- ↑ Ouden, Huib den (2 July 2018). "KLM/VNC-deal van start gegaan". www.fnvcabine.nl (ภาษาดัตช์). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-07. สืบค้นเมื่อ 6 July 2018.
- ↑ "KLM takes delivery of world's last B737-800". Ch-Aviation. 20 December 2019.
- ↑ "Air France-KLM Orders 100 A320neo And Four A350F". Simple Flying. 16 December 2021.
- ↑ "The Air France - KLM group takes a next step in optimization of the long haul fleet". Newsroom KLM. สืบค้นเมื่อ 24 November 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น แก้ไข
- เคแอลเอ็ม (อังกฤษ)