เคนยาแอร์เวย์
เคนยาแอร์เวย์ (อังกฤษ: Kenya Airways) เป็นสายการบินประจำชาติของเคนยา[1] เคนยาแอร์เวย์ถูกก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1977 หลังจากการล่มสลายของสายการบินอีสต์แอฟริกันแอร์เวย์ โดยมีสำนักงานใหญ๋อยู่ที่กรุงไนโรบีของเคนยา และมีท่าหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติโจโมเคนยัตตา[2]
![]() | |||||||
| |||||||
ก่อตั้ง | 22 มกราคม ค.ศ. 1977 (46 ปี) | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มดำเนินงาน | 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1977 (46 ปี) | ||||||
ท่าหลัก | ไนโรบี | ||||||
สะสมไมล์ | ฟลายอิ่งบลู | ||||||
พันธมิตรการบิน | สกายทีม | ||||||
บริษัทลูก | แอฟริกันคาร์โก้แฮนดลิ่ง (100%) แจมโบเจ็ต (100%) เคนยาแอร์ไฟรต์แฮนดลิ่ง (51%) | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 38 | ||||||
จุดหมาย | 84 | ||||||
สำนักงานใหญ่ | ![]() | ||||||
เว็บไซต์ | https://www.kenya-airways.com/ |
เคนยาแอร์เวย์เป็นสมาชิกของ สกายทีม ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2010 และยังเป็นสมาชิกของ แอฟริกันแอร์เวย์แอสโซซิเอชั่น ตั้งแต่ปีค.ศ. 1977[3][4]
จุดหมายปลายทาง แก้
ณ เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2016 เคนยาแอร์เวย์ให้บริการปลายทาง 84 แห่ง ใน 58 ประเทศ[5]
พันธมิตรทางการบิน แก้
กลุ่มพันธมิตรสายการบิน แก้
เคนยาแอร์เวย์เข้าร่วมเป็นสมาชิกของ สกายทีม ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2010 เคนยาแอร์เวย์เป็นสายการบินเดียวในทวีปแอฟริกาที่ข้าร่วมกลุ่มพันธมิตรนี้[3][6][7]
ข้อตกลงการบินร่วม แก้
เคนยาแอร์เย์ได้มีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินดังต่อไปนี้:[8]
- แอโรฟลอต
- แอร์เบอร์กิเนีย
- แอร์ฟรานซ์
- แอร์มอริเชียส
- บริติชแอร์เวย์[9]
- ไชน่าอีสเทิร์นแอร์ไลน์
- ไชน่าเซาท์เทิร์นแอร์ไลน์
- คอมแอร์
- เดลต้าแอร์ไลน์[10]
- อียิปต์แอร์[11]
- เอทิฮัดแอร์เวย์
- การูดาอินโดนีเซีย
- ฮ่องกงแอร์ไลน์
- ไอทีเอแอร์เวย์[12]
- เคแอลเอ็ม รอยัลดัชต์
- โคเรียนแอร์
- แลมโมซัมบิกแอร์ไลน์
- เพอร์ซิเชียนแอร์
- รอยัลแอร์โมรอค
- ซาอุเดีย
- เท็กแองโกลาแอร์ไลน์
- เวียดนามแอร์ไลน์
ฝูงบิน แก้
ฝูงบินปัจจุบัน แก้
ณ เดือนธันวาคม ค.ศ. 2019, เคนยาแอร์เวย์มีเครื่องบินในฝูงบินดังนี้[13]
เครื่องบิน | ประจำการ | คำสั่งซื้อ | ผู้โดยสาร | หมายเหตุ | ||
---|---|---|---|---|---|---|
C | Y | รวม | ||||
โบอิง 737-700 | 4 | — | 16 | 100 | 116 | |
โบอิง 737-800 | 8 | — | 16 | 129 | 145 | |
โบอิง 787-8 | 9[14] | — | 30 | 204 | 234 | |
เอ็มบราเออร์ อี-190AR | 15[15] | — | 12 | 84 | 96 | |
ฝูงบินของแคนยาแอร์เวย์คาร์โก้ | ||||||
โบอิง 737-300SF | 2 | — | สินค้า | |||
รวม | 38 | — |
ฝูงบินในอดีต แก้
เคนยาแอร์เวย์เคยให้บริการเครื่องบินดังต่อไปนี้:
- แอร์บัส เอ310-200[16]
- แอร์บัส เอ310-300
- เอทีอาร์ 42-300
- โบอิง 707-320
- โบอิง 707-320B:99
- โบอิง 707-320C
- โบอิง 720บี:99
- โบอิง 737-200[17]
- โบอิง 737-200C
- โบอิง 737-300[18]
- โบองิ 747-100
- โบอิง 747-200บี
- โบอิง 757[19]
- โบอิง 767-300
- โบอิง 767-300อีอาร์
- โบอิง 777-200อีอาร์[18]
- โบอิง 777-300อีอาร์
- ดักลาส ดีซี-8-70
- เอ็มบราเออร์ อี 170
- ฟอกเกอร์ เอฟ27-200:99
- ฟอกเกอร์ 50:99
- แมคดอนเนลล์ ดักลาซ ดีซี-9-30:99
- แมคดอนเนลล์ ดักลาซ ดีซี-10-30
ลวดลายเครื่องบิน แก้
ลวดลายปัจจุบันของเคนยาแอร์เวย์ ยังคงมีการใช้ข้อความ "Kenya Airways" เดิม และเครื่องยนต์ที่มีสีแดง แต่ในส่วนท้ายเครื่อง จะมีลวดลายในสีของธงชาติเคนยา (แดง, เขียว , ดำ) และมีตราสัญลักษณ์ใหม่ โดยเป็นการเล่นรูปของตัวอักษร K และ Q ตาม Tag Code, IATA ของสายการบิน
อุบัติเหตุและอุบัติการณ์ แก้
ณ เดือนตุลาคม ค.ศ. 2014 เคนยาแอร์เวย์ประสบอุบัติเหตุร้ายแรงถึงสองครั้งและอุบัติเหตุสูญเสียอากาศยานอีกสองครั้ง[20]
- 10 กรกฎาคม 1988: เที่ยวบิน 650 เครื่องบิน ฟอกเกอร์ เอฟ27 เฟรนด์ชิป ทะเบียน 5Y-BBS เข้าใกล้รันเวย์เร็วเกินไปและลงจอดที่สนามบิน Kisumu จากไนโรบีด้วย ไถลลงรันเวย์เป็นระยะทาง 600 ม. (2,000 ฟุต)
- 11 กรกฎาคม 1989: เครื่องบินโบอิง 707-320B ทะเบียน 5Y-BBK แล่นบนรันเวย์ที่สนามบินนานาชาติโบล์ หลังจากเบรกล้มเหลว จากนั้นจึงเดินทางต่อไป แต่เพราะล้อลงจอดไม่สามารถพับเก็บได้ ลูกเรือจึงต้องเดินทางกลับ[21][22]
- 30 มกราคม 2000: เที่ยวบิน 431 เป็นบริการตามกำหนดเวลาของอาบีจาน–ลากอส–ไนโรบี ซึ่งใช้แอร์บัส A310-304 ทะเบียน 5Y-BEN ในการให้บริการ ซึ่งตกลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติกประมาณหนึ่งนาทีหลังจากขึ้นจากท่าอากาศยานนานาชาติเฟลิกซ์-ฮูฟูเอต์ของอาบีจาน[23] มีผู้เสียชีวิต 169 ราย[24]
- 5 พฤษภาคม 2007: เที่ยวบิน 507 ซึ่งปฎิบัติการณ์โดยโบอิง 737-800 ทะเบียน 5Y-KYA ชนเข้ากับป่าชายเลนทันทีหลังจากเครื่องขึ้นบินไปยังไนโรบี ประมาณ 5.5 กิโลเมตร (3.42 ไมล์) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของท่าอากาศยานนานาชาติดูอาลา [25] มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 114 คน (ผู้โดยสาร 105 คนและลูกเรือ 9 คน) เสียชีวิต[26][27]
ดูเพิ่ม แก้
อ้างอิง แก้
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-11. สืบค้นเมื่อ 2013-08-08.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-09. สืบค้นเมื่อ 2012-08-01.
- ↑ 3.0 3.1 www.kenya-airways.com https://www.kenya-airways.com/Home/Corporate_Information/About_Kenya_Airways/History/.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ "Current Members – AFRAA" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- ↑ "Great Destinations Worldwide - Kenya Airways". www.kenya-airways.com.
- ↑ https://www.aeroflot.ru/ru-en/about/skyteam_alliance/why#:~:text=SkyTeam%20is%20an%20international%20alliance,Royal%20Dutch%20Airlines%2C%20Korean%20Air%2C
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-18. สืบค้นเมื่อ 2012-04-19.
- ↑ "Profile on Kenya Airways". CAPA. Centre for Aviation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-29. สืบค้นเมื่อ 2016-10-29.
- ↑ "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 October 2021. สืบค้นเมื่อ 7 November 2021.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "Kenya Airways, Delta sign codeshare deal ahead of direct US". 10 December 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 August 2018. สืบค้นเมื่อ 16 August 2018.
- ↑ Clark, Oliver (2 มิถุนายน 2017). "EgyptAir and Kenya Airways begin cross-alliance codeshare". London: Flightglobal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 มิถุนายน 2017.
- ↑ "Kenya Airways Strikes Codeshare Deal With Italian Carrier, Ita Airways". allafrica.com. สืบค้นเมื่อ 2021-12-25.
- ↑ "Kenya Airways fleet". Kenya Airways. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2019. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
- ↑ "Kenya Airways Set To Convert Boeing 787 Into Temporary Freighter". simpleflying.com. 2 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 June 2021. สืบค้นเมื่อ 12 May 2021.
- ↑ Hofmann, Kurt (8 June 2018). "Kenya Airways considers Bombardier CSeries, Embraer E2 order". Air Transport World. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 June 2018. สืบค้นเมื่อ 10 June 2018.
- ↑ Guttery (1998), p. 98.
- ↑ "Kenya Airways introduces its first Boeing 737-300". Flightglobal.com. Flight International. 14 May 1997. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2012. สืบค้นเมื่อ 18 May 2012.
The aircraft - central to the hub's regional development - are replacing two 737-200s leased from GPA.
- ↑ 18.0 18.1 "Our Fleet". Kenya Airways. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 October 2015.
- ↑ Geoff Thomas (23 July 2002). "Kenya Airways chooses Trent 800 for Boeing 777 order". Flightglobal.com. Flight Daily News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2012. สืบค้นเมื่อ 18 May 2012.
The airline is currently celebrating its silver jubilee – and its links with Rolls-Royce began with Dart engines for Fokker F27s...moving more recently to RB211-535s on its Boeing B-757s.
- ↑ Ranter, Harro. "Aviation Safety Network > ASN Aviation Safety Database > Operator index > Kenya > Kenya Airways". aviation-safety.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-27. สืบค้นเมื่อ 2022-02-08.
- ↑ Ranter, Harro. "ASN Aircraft accident Boeing 707-351B 5Y-BBK Addis Ababa-Bole Airport (ADD)". aviation-safety.net.
- ↑ "1990 | 0104 | Flight Archive". web.archive.org. 2014-06-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-14. สืบค้นเมื่อ 2022-02-08.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-02. สืบค้นเมื่อ 2012-03-03.
- ↑ Ranter, Harro. "ASN Aircraft accident Airbus A310-304 5Y-BEN Abidjan-Felix Houphouet Boigny Airport (ABJ)". aviation-safety.net.
- ↑ Ranter, Harro. "ASN Aircraft accident Boeing 737-8AL 5Y-KYA Douala Airport (DLA)". aviation-safety.net.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-16. สืบค้นเมื่อ 2012-08-10.
- ↑ "BBC NEWS | Africa | 'No survivors' in Cameroon crash". web.archive.org. 2020-11-08. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-07. สืบค้นเมื่อ 2022-02-08.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)