แอร์บัส เอ220
แอร์บัส เอ220 (อังกฤษ: Airbus A220) หรือ บอมบาร์ดิเอร์ซีซีรีย์ เป็นเครื่องบินพาณิชย์แบบลำตัวแคบ ซึ่งแต่เดิมได้รับการออกแบบโดยบอมบาร์ดิเอร์ แอโรสเปซ และให้บริการในชื่อบอมบาร์ดิเอร์ ซีซีรีส์ เป็นเวลาสองปี ก่อนแอร์บัสมารับช่วงต่อในโครงการ หลังจากเปิดตัวเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ค.ศ. 2008 เครื่องบินรุ่น เอ220-100 (เดิมคือ CS100) ทำการบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 2013 ได้รับการรับรองประเภทเริ่มต้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 2015 และเริ่มให้บริการเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 กับสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ และ เอ220-300 (เดิมคือ CS300) ทำการบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015 ได้รับการรับรองประเภทเริ่มต้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 และเข้าบริการกับแอร์บอลติก เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2016
![]() ![]() เอ220-300 ในงานฟาร์นโบโรห์แอร์โชว์ ปี 2018 | |
บทบาท | อากาศยานลำตัวแคบ |
---|---|
ชาติกำเนิด | ยุโรป |
บริษัทผู้ผลิต | แอร์บัส |
ผู้ออกแบบ | บอมบาร์ดิเอร์ แอโรสเปซ |
บินครั้งแรก | 16 กันยายน ค.ศ. 2013 |
เริ่มใช้ | 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 โดย สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ |
สถานะ | ในประจำการ |
ผู้ใช้งานหลัก | เดลต้าแอร์ไลน์ แอร์บอลติก แอร์แคนาดา สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ |
ช่วงการผลิต | ค.ศ. 2013– ปัจจุบัน |
จำนวนที่ผลิต | 242 ลำ (เมื่อ ธ.ค. 2022) |
แบบอื่น | แอร์บัส เอซีเจ220 |
รุ่นแก้ไข
เอ220-100แก้ไข
รุ่น-100 เป็นรุ่นที่มีขนาดเล็กที่สุดในตระกูล โดยรุ่น-100 นั้นได้เปิดตัวกับ สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2016 โดยรุ่น-100 มีพิสัยการบิน 6,390 กิโลเมตร จุผู้โดยสารได้ประมาณ 100-125 คน โดยมีการจัดเรียงที่นั่งแบบ 3-2[1]
เอ220-300แก้ไข
รุ่น-300 เป็นรุ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในตระกูล โดยรุ่น-300 นั้นได้เปิดตัวกับ แอร์บอลติก ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2016 โดยรุ่น-300 มีพิสัยการบิน 6,667 กิโลเมตร จุผู้โดยสารได้ประมาณ 120-150 คน โดยมีการจัดเรียงที่นั่งแบบ 3-2 เช่นเดียวกับรุ่น -100[2]
เอซีเจ220แก้ไข
รุ่น เอซีเจ220 เป็นรุ่นเจ็ตองค์กรของแอร์บัส เอ220 มีพิสัยการบิน 10,460 กม. และพื้นที่ห้องโดยสาร 73 ตร.ม. สำหรับผู้โดยสาร 18 คน[3] คาดว่าจะมีการส่งมอบครั้งแรกในปี ค.ศ. 2023[4][5]
ผู้ให้บริการแก้ไข
ณ เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2023 มีเครื่องบินตระกูล เอ220 จำนวน 262 ลำในการให้บริการเชิงพาณิชย์โดยมีผู้ให้บริการ 18 ราย ผู้ให้บริการรายใหญ่ที่สุด 5 ราย ได้แก่ เดลตาแอร์ไลน์ (60), แอร์บอลติก (41), แอร์แคนาดา (33), สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ (30) และแอร์ฟรานซ์ (23)[6]
ผู้ให้บริการปัจจุบันแก้ไข
ผู้ให้บริการ | เที่ยวบินแรก | เอ220-100 | เอ220-300 | รวม |
---|---|---|---|---|
รัฐบาลและเครื่องบินส่วนตัว | N/A | 2 | 2 | |
แอร์อัสทรัล | 18 สิงหาคม 2021[7] | 3 | 3 | |
แอร์บอลติก | 14 ธันวาคม 2016[8] | 41 | 41 | |
แอร์แคนาดา | 16 มกราคม 2020 | 33 | 33 | |
แอร์ฟรานซ์ | 31 ตุลาคม 2021[9][10] | 23 | 23 | |
แอร์มานาส | 12 พฤษภาคม 2021 | 1 | 1 | |
แอร์เซเนกัล | 6 กุมภาพันธ์ 2022[11] | 1 | 1 | |
แอร์แทนซาเนีย | 7 มกราคม 2019 | 4 | 4 | |
บรีซแอร์เวย์ | 4 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 | 12 | 12 | |
เดลต้าแอร์ไลน์ | 7 กุมภาพันธ์ 2019[12][13] | 45 | 15 | 60 |
อียิปต์แอร์ | 22 สิงหาคม 2019 | 12 | 12 | |
ไอบอมแอร์ | มิถุนายน 2021 | 2 | 2 | |
อิรักขิแอร์เวย์ | 6 พฤศจิกายน 2022[14] | 4 | 4 | |
ไอทีเอแอร์เวย์ | 11 ตุลาคม 2022[15] | 4 | 4 | |
เจ็ตบลูแอร์เวย์ | 31 ธันวาคม 2020 | 17 | 17 | |
โคเรียนแอร์ | 20 มกราคม 2018[16] | 10[a] | 10 | |
สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ | 15 มิถุนายน 2016[18][19] | 9[b] | 21[c] | 30 |
ไม่ระบุ | 5 | 5 | ||
รวม: | 56 | 206 | 262 |
ผู้ให้บริการในอดีตแก้ไข
- แอร์ไซไน โดยให้บริการรุ่น -300 สองลำของอียิปต์แอร์ระหว่างเดือนธันวาคม ค.ศ. 2019 - พฤษภาคม ค.ศ. 2021 จากนั้นจึงส่งมอบต่อให้สายการบินสัญชาติไนจีเรีย,ไอบอมแอร์, ในเวลาต่อมา[20][21]
คำสั่งซื้อและการส่งมอบแก้ไข
รุ่น | คำสั่งซื้อ | การส่งมอบ |
เอ220-100 | 93 | 56 |
เอ220-300 | 692 | 206 |
รวม | 785 | 262 |
2009 | 2010 | 2011 | 2012 | 2013 | 2014 | 2015 | 2016 | 2017 | 2018 | 2019 | 2020 | 2021 | 2022 | 2023 | รวม | |
คำสั่งซื้อ | 50 | 40 | 43 | 15 | 34 | 65 | – | 117 | 12 | 165 | 63 | 30 | 38 | 126 | 12 | 785 |
การส่งมอบ | – | – | – | – | – | – | – | 7 | 17 | 33 | 48 | 38 | 50 | 54 | 16 | 262 |
อุบัติเหตุและอุบัติการณ์สำคัญแก้ไข
ณ เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2023 แอร์บัส เอ220 ไม่เคยประสบอุบัติเหตุร้ายแรง
อุบัติการณ์เครื่องยนต์ล้มเหลวแก้ไข
ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2018 แอร์บัส เอ220-300 ของสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ ที่ใช้เครื่องยนต์แพรต์แอนด์วิตนีย์ พีดับเบิลยู1500จี ได้ประสบเหตุการณ์เครื่องยนต์ล้มเหลวขณะทำการบิน[22] และก็ได้เกิดเหตุการณ์ในลักษณะเดียวกันอีกสามครั้งในช่วงเวลาใกล้กัน หลังจากอุบัติการณ์ สวิสได้ระงับการบินของฝูงบินเอ220 ชั่วคราวเพื่อตรวจสอบเครื่องยนต์ ก่อนนำกลับมาให้บริการ[23][24] โดยคาดว่าสาเหตุเกิดจากความผิดผลาดของซอฟท์แวร์การบิน[25] ซึ่งได้รับการปรับปรุงในเวลาต่อมา
ข้อมูลจำเพาะแก้ไข
รุ่น | เอ220-100 (BD-500-1A10)[27] | เอ220-300 (BD-500-1A11)[27] |
---|---|---|
นักบิน (คน) | 2 | |
ความจุผู้โดยสาร (ที่นั่ง) | 100–120 (135 max)[28] | 120–150 (160 max)[28] |
ความยาวของที่นั่ง (มาตราฐาน) | 28–36 in (71–91 ซm) | 28–38 in (71–97 ซm) |
ความกว้างของที่นั่ง | 18.5 ถึง 20 in (47 ถึง 51 ซm) | |
พื้นที่บรรทุกสินค้า | 23.7 m³ / 839 cu.ft | 31.6 m³ / 1,118 cu.ft |
ความยาว | 35.00 m / 114' 9" | 38.71 m / 127' 0" |
ความกว้าง | 35.10 m / 115' 1" span / 112.3 m2 (1,209 sq ft) area (10.97 AR) | |
ความสูง | 11.50 m / 37' 8" | |
เส้นผ่านศูนย์กลางของลำตัวเครื่อง | 3.7 m (12 ft 2 in) | |
ขนาดห้องโดยสาร | 3.28 m / 10' 9" width / 2.11 m (6 ft 11 in) height | |
ความยาวห้องโดยสาร | 23.7 m (78 ft)[29] | 27.5 m (90 ft)[30] |
น้ำหนักขึ้นบินสูงสด[28] | 63.10 t / 139,000 lb | 70.90 t / 156,000 lb |
น้ำหนักบรรทุกสูงสุด | 15.1 t (33,300 lb) | 18.7 t (41,200 lb) |
น้ำหนักเครื่องปล่าว | 77,650 lb (35.22 t)[31] | 81,750 lb (37.08 t)[32] |
ความจุเชื้อเพลิง[28] | 21,805 L / 5,760 USgal | 21,508 L / 5,681 USgal |
พิสัยการบิน[28] | 6,390 km / 3,450 nmi | 6,667 km (3,600 nmi) |
ความเร็วขณะบิน | Mach .82 (470 kn; 871 km/h) max, Mach .78 (447 kn; 829 km/h) typical | |
ระยะทางขึ้นบิน | 4,800 ft / 1,463 m[29] | 6,200 ft / 1,890 m[30] |
ระยะทางลงจอด | 4,550 ft / 1,387 m[29] | 4,950 ft / 1,509 m[30] |
เพดานบิน | 41,000 ft / 12,497 m | |
เครื่องยนต์ | 2× Pratt & Whitney PW1500G | |
แรงผลักดัน | 18,900–23,300 lbf / 84.1–103.6 kN | 21,000–23,300 lbf / 93.4–103.6 kN |
ประเภทการจดทะเบียน (ICAO) | BCS1 | BCS3 |
เครื่องบินที่ใกล้เคียงกันแก้ไข
รุ่นที่ใกล้เคียงกันแก้ไข
เครื่องบินที่ใกล้เคียงกันแก้ไข
แหล่งอ้างอิงแก้ไข
- ↑ "A220-100 | A220 | Aircraft | Airbus Aircraft". aircraft.airbus.com.
- ↑ "A220-300 | A220 | Aircraft | Airbus Aircraft". aircraft.airbus.com.
- ↑ "ACJ TwoTwenty | Airbus Corporate Jets". www.acj.airbus.com.
- ↑ O'Connor, Kate (2021-10-13). "ACJ TwoTwenty On Schedule For 2023 Debut". AVweb (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- ↑ André Orban (2022-01-05). "First-ever Airbus ACJ TwoTwenty delivered to Comlux". Aviation24.be (ภาษาอังกฤษแบบบริติช).
- ↑ "Orders and deliveries | Airbus". www.airbus.com (ภาษาอังกฤษ). 2021-06-16.
- ↑ Orban, André (21 August 2021). "Air Austral operates its first Airbus A220-300 commercial flight between Reunion Island and Mayotte". Aviation 24 Belgium. สืบค้นเมื่อ 22 August 2021.
- ↑ Gregory Polek (14 December 2016). "Bombardier's CS300 Enters Service with Air Baltic". Aviation International News.
- ↑ "Air France unveils its first Airbus A220-300 | Air France - Corporate".
- ↑ "Airbus delivers first of 60 A220s to Air France" (Press release). Airbus. 29 September 2021. สืบค้นเมื่อ 29 September 2021.
- ↑ Africazine (2022-02-07). "Air Senegal's Airbus A220-300 makes its first commercial flight". Africazine (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "ANALYSIS: Delta seizes opportunities with A220 introduction". FlightGlobal. 7 February 2019. สืบค้นเมื่อ 18 August 2019.
- ↑ "Delta's A220s take to the skies for first customer flights" (Press release). Delta Air Lines. 7 February 2019. สืบค้นเมื่อ 7 October 2019.
- ↑ "Iraqi Airways debuts A220 flight operations". ch-aviation (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "ITA Airways firms up order for 28 Airbus aircraft | Airbus". www.airbus.com (ภาษาอังกฤษ). 2021-12-01.
- ↑ "Bombardier Foresees 2,050 new aircraft for Asia-Pacific by 2036" (Press release). Singapore: Bombardier Aerospace. 6 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-18. สืบค้นเมื่อ 2022-01-27.
- ↑ 17.0 17.1 17.2 "CSeries/A220 production list and orders". ABCDlist. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-27. สืบค้นเมื่อ 2022-01-27.
- ↑ "SWISS Launches Revenue Service with State-of-the-Art Bombardier C Series Aircraft" (Press release). Montreal: Bombardier Aerospace. 15 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-29. สืบค้นเมื่อ 2022-01-27.
- ↑ Kristine Owram (15 July 2016). "Bombardier's CSeries holds its maiden commercial flight from Zurich to Paris". Financial Post.
- ↑ "Air Sinai moves forward A220 service to Dec 2019". Routes (ภาษาอังกฤษแบบบริติช).
- ↑ "Air Sinai's Airbus A220s Set To Fly For Nigeria's Ibom Air". Simple Flying (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2021-05-31.
- ↑ Kaminski-Morrow2021-03-26T11:00:00+00:00, David. "Swiss A220 engine shutdown traced to leak from unmodified oil cooler". Flight Global (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ Kaminski-Morrow2019-10-15T18:09:19+01:00, David. "Third Swiss A220 failure spurs urgent engine checks". Flight Global (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "StackPath". www.industryweek.com.
- ↑ "Exclusive: Software under scrutiny in Airbus A220 engine failures". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2019-10-24. สืบค้นเมื่อ 2022-12-29.
- ↑ "CSeries brochure" (PDF). Bombardier. June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 September 2015. สืบค้นเมื่อ 14 June 2015.
- ↑ 27.0 27.1 "Type certificate data sheet" (PDF). EASA. 29 January 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 11 July 2018. สืบค้นเมื่อ 11 July 2018.
- ↑ 28.0 28.1 28.2 28.3 28.4 "Family figures" (PDF). Airbus. June 2020. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2019. สืบค้นเมื่อ 18 December 2018.
- ↑ 29.0 29.1 29.2 "CS100 Factsheet" (PDF). Bombardier. June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ October 15, 2017.
- ↑ 30.0 30.1 30.2 "CS300 Factsheet" (PDF). Bombardier. June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ March 4, 2016.
- ↑ "CS100 Airport planning publication" (PDF). Bombardier. 18 October 2018. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2019. สืบค้นเมื่อ 27 February 2019.
- ↑ "CS300 Airport planning publication" (PDF). Bombardier. 18 October 2018. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2019. สืบค้นเมื่อ 27 February 2019.
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>