สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด

จังหวัดตราด มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 1 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดตราด
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต1
คะแนนเสียง47,046 (ก้าวไกล)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดตราดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายกิมทะ นิรันต์พานิช[2]

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด   1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองตราด (ยกเว้นตำบลหนองโสน), อำเภอคลองใหญ่ และกิ่งอำเภอเกาะกูด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองตราด (เฉพาะตำบลหนองโสน), อำเภอเขาสมิง, อำเภอบ่อไร่, อำเภอแหลมงอบ และกิ่งอำเภอเกาะช้าง
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด   1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

แก้
      พรรคสหชีพพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายกิมทะ นิรันต์พานิช
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายเฉลา เตาลานนท์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร)
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร)
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร)

ชุดที่ 8–20; พ.ศ. 2500–2539

แก้
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชากรไทย
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคชาติไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคเสรีธรรม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร)
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร)
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายประชุม รัตนเพียร
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายประชุม รัตนเพียร
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 เรืออากาศตรี ฉลาด วรฉัตร
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายประชุม รัตนเพียร
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 พันเอก สาคร กิจวิริยะ
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายธนิต ไตรวุฒิ
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายธนิต ไตรวุฒิ
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายธนิต ไตรวุฒิ
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายบรรลุ สุทธิวารี
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายธีระ สลักเพชร

ชุดที่ 21; พ.ศ. 2544

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544
1 นายบุญส่ง ไข่เกษ
2 นายธีระ สลักเพชร

ชุดที่ 22–26; พ.ศ. 2548–2566

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 22[3] พ.ศ. 2548 นายธีระ สลักเพชร
ชุดที่ 23[4] พ.ศ. 2550
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายศักดินัย นุ่มหนู
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายศักดินัย นุ่มหนู

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. รัฐสภาไทย,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้