รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

บุคคลผู้อ้างว่ามีสิทธิโดยชอบในราชบัลลังก์ที่ว่างลงหรือมีเจ้านายพระองค์อื่นทรงราชย์อยู

ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (อังกฤษ: pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด

เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์

ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope)

ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์

แก้

ทวีปยุโรป

แก้
ประเทศ รูป ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ เกิด ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ ราชวงศ์ ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ ผู้สืบทอดลำดับถัดไป เกิด ภาพ
  ราชอาณาจักรแอลเบเนีย   เจ้าชายเลกา เจ้าชายแห่งแอลเบเนีย พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2554 ราชวงศ์โซกู เป็นพระราชนัดดาในพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย กษัตริย์แอลเบเนียพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2471–2482 พระเจ้าซ็อกทรงถูกอิตาลีล้มล้างและทรงอ้างสิทธิจนกระทั่ง พ.ศ. 2504 จึงสวรรคต พระราชนัดดาอ้างสิทธิสืบต่อจากเจ้าชายเลกา มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย พระบิดาสวรรคตในปี พ.ศ. 2554 สเกนเดอร์ โซกู พ.ศ. 2476  
  จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี   คาร์ล ฟ็อน ฮาพส์บวร์ค พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2554 ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค เป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย จักรพรรดิออสเตรียพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2459–2460 จักรพรรดิคาร์ลถูกล้มล้างราชบัลลังก์ภายหลังจากการพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2465 พระราชนัดดาอ้างสิทธิสืบต่อจากอ็อทโท ฟ็อน ฮาพส์บวร์ค มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย พระบิดาสวรรคตในปี พ.ศ. 2554 แฟร์ดีนันท์ ซโวนีมีร์ ฮาพส์บวร์ค-โลทริงเงิน พ.ศ. 2540  
  ราชอาณาจักรบัลแกเรีย   ซีโมน แห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา พ.ศ. 2480 พ.ศ. 2489 ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา เป็นสมเด็จพระเจ้าซาร์พระองค์สุดท้ายของบัลแกเรียในพระปรมาภิไธย ซีเมออนที่ 2 ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2486–2489 ทรงถูกล้มล้างราชบัลลังก์ภายหลังจากกองทัพสหภาพโซเวียตยกพลเข้าราชอาณาจักรและทำรัฐประหารสถาปนารัฐคอมมิวนิสต์ เจ้าชายบอริส เจ้าชายแห่งทาร์โน พ.ศ. 2540  
  ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย   แอ็นสท์-โยฮันน์ เจ้าชายไบรอนแห่งคลาวแลนด์ พ.ศ. 2483 พ.ศ. 2525 ราชวงศ์ไบรอน เป็นสันตติวงศ์ชั้นที่ 7 ในดยุกแอ็นสท์ โยฮันน์ ฟ็อน ไบรอน ซึ่งเป็นพระบิดาในดยุกปีเตอร์ ฟ็อน ไบรอน ดยุกแห่งคูร์ลันด์องค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2312–2338 ดยุกปีเตอร์สูญเสียราชบัลลังก์ภายหลังการแบ่งโปแลนด์ครั้งที่สามโดยถูกจักรวรรดิรัสเซียผนวกดินแดน เจ้าชายแอ็นสท์อ้างสิทธิสืบต่อจากคาร์ล ฟ็อน ไบรอน พระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2525 ไมเคิล ไบรอน พ.ศ. 2487  
  ราชอาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนีย   คาร์ล ฟ็อน ฮาพส์บวร์ค พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2554 ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค เป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย กษัตริย์โครเอเชีย-สลาโวเนียพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2459–2460 ในพระปรมาภิไธย คาร์ลที่ 4 จักรพรรดิคาร์ลถูกล้มล้างราชบัลลังก์ภายหลังจากการพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2465 พระราชนัดดาอ้างสิทธิสืบต่อจากอ็อทโท ฟ็อน ฮาพส์บวร์ค มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย พระบิดาสวรรคตในปี พ.ศ. 2554 แฟร์ดีนันท์ ซโวนีมีร์ ฮาพส์บวร์ค-โลทริงเงิน พ.ศ. 2540  
  รัฐเอกราชโครเอเชีย   เจ้าชายไอโมน ดยุกแห่งอาพูเลีย พ.ศ. 2510 พ.ศ. 2564 ราชวงศ์ซาวอย เป็นพระราชนัดดาในเจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งออสตา กษัตริย์โครเอเชียพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2484–2486 ในพระปรมาภิไธย โทมิสลาฟที่ 2 พระเจ้าโทมิสลาฟทรงถูกบังคับสละราชบัลลังก์ภายหลังจากการพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่สองและทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2491 พระราชนัดดาอ้างสิทธิสืบต่อจากเจ้าชายอะเมเดโอ ดยุกที่ 5 แห่งออสตา มกุฎราชกุมารแห่งโครเอเชีย พระบิดาสวรรคตในปี พ.ศ. 2564 เจ้าชายอุมแบร์โตแห่งเพียดมอนด์ พ.ศ. 2552  
  ราชอาณาจักรอังกฤษ
(สายแจกเคอไบต์)
  เจ้าชายฟรันซ์ ดยุกแห่งบาวาเรีย พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2539 ราชวงศ์วิทเทิลส์บัค ทรงเป็นพระราชสันตติวงศ์ชั้นที่ 11 ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ซึ่งเป็นพระราชบิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ กษัตริย์อังกฤษครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2228–2231 พระเจ้าเจมส์ทรงถูกขับออกจากราชบัลลังก์ภายหลังการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์และทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2244 เจ้าชายฟรันซ์อ้างสิทธิสืบต่อจากเจ้าชายอัลเบ็รชท์ ดยุกแห่งบาวาเรีย พระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2539 เจ้าชายแม็กซ์ ดยุกในบาวาเรีย พ.ศ. 2480  
  ราชอาณาจักรฝรั่งเศส
(สายแจกเคอไบต์)
  เจ้าชายฟรันซ์ ดยุกแห่งบาวาเรีย พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2539 ราชวงศ์วิทเทิลส์บัค ทรงเป็นพระราชสันตติวงศ์ชั้นที่ 17 ของพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ กษัตริย์อังกฤษ-ฝรั่งเศสพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1965–1996 ในพระปรมาภิไธย อ็องรีที่ 2 พระเจ้าเฮนรีทรงถูกขับออกจากราชบัลลังก์ภายหลังแพ้สงครามแลงแคสเตอร์และทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2014 เจ้าชายฟรันซ์อ้างสิทธิสืบต่อจากเจ้าชายอัลเบ็รชท์ ดยุกแห่งบาวาเรีย พระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2539 เจ้าชายแม็กซ์ ดยุกในบาวาเรีย พ.ศ. 2480  
  ราชอาณาจักรฝรั่งเศส
(สายบูร์บง)
  หลุยส์ อัลฟอนส์เซร์ ดยุกแห่งอ็องฌู พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2532 ราชวงศ์บูร์บง ทรงเป็นพระราชสันตติวงศ์ชั้นที่ 11 ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ซึ่งเป็นพระราชบรรพบุรุษชั้นที่ 8 ของอ็องรีแห่งอาร์ตัว กษัตริย์ฝรั่งเศสสายบูร์บงพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ใน พ.ศ. 2373 ในพระปรมาภิไธย อ็องรีที่ 5 พระเจ้าอ็องรีทรงถูกขับออกจากราชบัลลังก์ภายหลังจากการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมและทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2426 เจ้าชายหลุยส์อ้างสิทธิสืบต่อจากเจ้าชายอัลฟอนโซ ดยุกแห่งอ็องฌูและกาดิซ พระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2532 เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งบูร์กอญ พ.ศ. 2553  
  ราชอาณาจักรฝรั่งเศส
(สายออร์เลอ็อง)
  ฌ็อง เคานต์แห่งปารีส พ.ศ. 2508 พ.ศ. 2562 ราชวงศ์ออร์เลอ็อง เป็นลืดในพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ซึ่งเป็นพระอัยกาธิราชของเจ้าชายฟีลิป เคานต์แห่งปารีส กษัตริย์ฝรั่งเศสสายออร์เลอ็องพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ใน พ.ศ. 2391 ในพระปรมาภิไธย หลุยส์-ฟีลิปที่ 2 พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปทรงถูกขับออกจากราชบัลลังก์ภายหลังการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์และทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2437 ลืดอ้างสิทธิสืบต่อจากเจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีส พระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2562 เจ้าชายกัสตอน พ.ศ. 2552  
  จักรวรรดิฝรั่งเศส   ชาร์ล เจ้าชายนโปเลียน พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2540 ราชวงศ์โบนาปาร์ต เป็นลืบในการ์โล บูโอนาปาร์เต ซึ่งเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และพระอัยกาของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 จักรพรรดิฝรั่งเศสพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2395–2413 จักรพรรดินโปเลียนทรงถูกถอดจากราชบัลลังก์ภายหลังการพ่ายแพ้ในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียและทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2416 ลืบอ้างสิทธิสืบต่อจากหลุยส์ เจ้าชายนโปเลียน พระบิดาสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2540 ฌ็อง-คริสต็อฟ เจ้าชายนโปเลียน พ.ศ. 2529  
  ราชอาณาจักรกรีซ   เจ้าชายปัฟโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ พ.ศ. 2510 พ.ศ. 2566 ราชวงศ์ชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์-เซอเนอร์ปอร์-กลึคส์บวร์ค เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีกอนสตันดีโนสที่ 2 แห่งกรีซ กษัตริย์กรีซพระองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2507–2516 สมเด็จพระราชาธิบดีกอนสตันดีโนสถูกถอดออกจากราชบัลลังก์ภายหลังจากการลงประชามติสาธารณรัฐและทรงอ้างสิทธิจนสวรรคตใน พ.ศ. 2566 ซึ่งพระราชโอรสได้อ้างสิทธิต่อจากนั้น เจ้าชายคอนสแตนติน อเล็กซิออสแห่งกรีซและเดนมาร์ก พ.ศ. 2541  
  ราชอาณาจักรไอร์แลนด์   ดยุคฟรานซ์แห่งบาวาเรีย พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2539 ราชวงศ์วิตเตลส์บาค ทรงเป็นเชื้อสายลำดับที่ 11 ของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ เจ้าชายแม็กซ์ ดยุคในบาวาเรีย พ.ศ. 2480  
  ราชอาณาจักรลิทัวเนีย   วิลเฮล์ม อัลเบิร์ต ดยุคแห่งอูราค พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2534 ราชวงศ์อูราค เป็นพระนัดดาในพระเจ้ามินดัวกัสที่ 2 แห่งลิทัวเนีย กษัตริย์เพียงในนามในปีพ.ศ. 2461 จนกระทั่งมีการก่อตั้งสาธารณรัฐลิทัวเนียจึงทำให้ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้าง เจ้าชายคาร์ล ฟิลลิปแห่งอูราค พ.ศ. 2535  
  เกาะแมน   ซีโมน อิเกอตัน สโคป พ.ศ. 2477 ไม่ปรากฏ ตระกูลสโคป เป็นเชื้อสายในวิลเลียม เลอ สโคป แฮร์รี สโคป พ.ศ. 2517  
  ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร   มกุฎราชกุมารนิโคลัส พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2529 ราชวงศ์เปโทรวิช-นีเจกอส เป็นพระปนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีนิโคลัสที่ 1 แห่งมอนเตเนโกร กษัตริย์มอนเตเนโกรตั้งแต่ พ.ศ. 2453 ถึง พ.ศ. 2461 ระบอบกษัตริย์สิ้นสุดหลังจากรวมเข้ากับราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย เจ้าชายบอริส พ.ศ. 2523  
  ราชอาณาจักรโปรตุเกส   เจ้าชายดูอาร์ท ปิโอ ดยุกแห่งบรากันซา พ.ศ. 2488 พ.ศ. 2519 ราชวงศ์บราแกนซา เป็นพระปนัดดาในพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส กษัตริย์โปรตุเกสตั้งแต่ พ.ศ. 2371 ถึง พ.ศ. 2377 ระบอบกษัตริย์สิ้นสุดในรัชสมัยพระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส ทรงถูกล้มล้างราชบัลลังก์โดยสาธารณรัฐ อาฟงซู เจ้าชายแห่งไบรา พ.ศ. 2539  
  ราชอาณาจักรโรมาเนีย   เจ้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนีย พ.ศ. 2492 พ.ศ. 2560 ราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น-ซิกมาริงเง็น พระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย เจ้าฟ้าชายคาร์ล ฟรีดิชแห่งโฮเฮนโซเลน
(ประมุขแห่งราชวงศ์ ลำดับต่อไปตามรัฐธรรมนูญฉบับเดิม)
พ.ศ. 2467  
เจ้าหญิงเอเลนาแห่งโรมาเนีย
(ทายาทโดยสันนิษฐานลำดับต่อไปตามกฎแห่งราชวงศ์เดิม)
พ.ศ. 2493  
  ราชอาณาจักรโรมาเนีย
(ไม่ได้รับการรับรอง)
  พอล-ฟิลิป โฮเอินโซลเลิร์น พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2549 ตระกูลลามบริโน
(เชื้อสายจากการหย่าร้างของบุคคลในโฮเฮนโซเลิร์น)
เป็นบุตรในคาโรล ลามบริโน ซึ่งเป็นพระโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนียกับพระชายาองค์แรกคือ ซีซิ ลามบริโนซึ่งเป็นสามัญชน อเล็กซานเดอร์ โฮเฮนโซลเลิร์น พ.ศ. 2504  
  จักรวรรดิรัสเซีย   แกรนด์ดัสเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2535 ราชวงศ์โรมานอฟ ทรงเป็นเชื้อสายในพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย ซึ่งครองราชย์ในปีพ.ศ. 2398 ถึงพ.ศ. 2424 พระเจ้าซาร์องค์สุดท้ายของรัสเซียคือพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย ทรงถูกปฏิวัติโดยพวกบอลเชวิกและถูกปลงพระชนม์พร้อมพระราชวงศ์ แกรนด์ดยุกจอร์จ มิไคโลวิชแห่งรัสเซีย พ.ศ. 2524
  จักรวรรดิรัสเซีย   เจ้าชายอันเดรย์ อันเดรเยวิช พ.ศ. 2465 พ.ศ. 2559 ราชวงศ์โรมานอฟ ทรงเป็นเชื้อสายในพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย ซึ่งครองราชย์ในปีพ.ศ. 2368 ถึงพ.ศ. 2398 เจ้าชายอเล็กซิส อันเดรเยวิช โรมานอฟ พ.ศ. 2496
  ราชอาณาจักรสกอตแลนด์   ดยุคฟรานซ์แห่งบาวาเรีย พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2539 ราชวงศ์วิตเตลส์บาค ทรงเป็นเชื้อสายลำดับที่ 11 ของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ เจ้าชายแม็กซ์ ดยุคในบาวาเรีย พ.ศ. 2480  
  ราชอาณาจักรเซอร์เบีย
(สายโอเบรโนวิช)
  มกุฎราชกุมารนิโคลัส พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2529 ราชวงศ์เปโทรวิช-นีเจกอส เป็นพระนัดดาในเจ้าชายเมอร์โกแห่งมอนเตเนโกร ซึ่งเป็นพระญาติในสมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย เจ้าชายบอริส พ.ศ. 2523  
  ราชอาณาจักรเซอร์เบีย
(สายคาราดอร์เดวิค)
  มกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์ พ.ศ. 2488 พ.ศ. 2513 ราชวงศ์คาราดอร์เดวิค เป็นพระโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย ซึ่งครองราชย์ในปีพ.ศ. 2477 ถึงพ.ศ. 2488 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่ 2 เจ้าฟ้าชายปีเตอร์ พ.ศ. 2523  
  ราชอาณาจักรสเปน
(สายการ์ลิสต์)
  คาร์ลอส ฮูโก ดยุคแห่งปาร์มา พ.ศ. 2473 พ.ศ. 2520 ราชวงศ์บูร์บง เป็นพระโอรสในซาเวียร์ ดยุคแห่งปาร์มา พระบิดาได้รับการประกาศให้เป็นผู้สำเร็จราชการการ์ลิสต์โดยอัลฟองโซ คาร์ลอสแห่งบูร์บง ดยุคแห่งซาน เจม เจ้าชายคาร์ลอสแห่งเพียเซนซา พ.ศ. 2513  
  ราชอาณาจักรสเปน
(สายการ์ลิสต์)
  เจ้าชายซิกส์ตุส อองรีแห่งบูร์บง-ปาร์มา พ.ศ. 2483 พ.ศ. 2522 ราชวงศ์บูร์บง เป็นพระโอรสในซาเวียร์ ดยุคแห่งปาร์มา พระบิดาได้รับการประกาศให้เป็นผู้สำเร็จราชการการ์ลิสต์โดยอัลฟองโซ คาร์ลอสแห่งบูร์บง ดยุคแห่งซาน เจม เจ้าชายซิกส์ตุสแห่งบาร์ดี พ.ศ. 2515  
  ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย   มกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์ พ.ศ. 2488 พ.ศ. 2513 ราชวงศ์คาราดอร์เดวิค เป็นพระโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย ซึ่งครองราชย์ในปีพ.ศ. 2477 ถึงพ.ศ. 2488 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่ 2 เจ้าฟ้าชายฟิลิป พ.ศ. 2525  

เยอรมนี

แก้
ประเทศ รูป ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์' เกิด ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ ราชวงศ์ ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ ผู้สืบทอดลำดับถัดไป เกิด รูป
  จักรวรรดิเยอรมัน   เจ้าชายกียอร์ก ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2537 ราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น เป็นลื่อ (ลูกของเหลน) ในสมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี จักรพรรดิเยอรมนีตั้งแต่ พ.ศ. 2431 ถึง พ.ศ. 2461 ทรงถูกล้มล้างราชบัลลังก์หลังจากทรงพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยสาธารณรัฐ เจ้าชายคาร์ล ฟรีดริชแห่งปรัสเซีย พ.ศ. 2556  
  ราชอาณาจักรบาวาเรีย   ดยุคฟรานซ์แห่งบาวาเรีย พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2539 ราชวงศ์วิตเตลส์บาค เป็นพระปนัดดาในพระเจ้าลูทวิชที่ 3 แห่งบาวาเรีย กษัตริย์บาวาเรียตั้งแต่พ.ศ. 2456 ถึง พ.ศ. 2461 โดยระบอบกษัตริย์ได้ถูกล้มล้างในการปฏิวัติเยอรมัน เจ้าชายแม็กซ์ ดยุคในบาวาเรีย พ.ศ. 2480  
  ราชอาณาจักรฮาโนเวอร์   เจ้าชายเอิร์นส์ ออกัสที่ 5 แห่งฮาโนเวอร์ พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2530 ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ เป็นลื่อ (ลูกของเหลน) ในพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งฮาโนเวอร์ กษัตริย์ฮาโนเวอร์ตั้งแต่ พ.ศ. 2394 ถึง พ.ศ. 2421 ระบอบกษัตริย์สิ้นสุดลงโดยยอมเข้ารวมกับเยอรมนี เจ้าชายเอิร์นส์ ออกัสแห่งฮาโนเวอร์ พ.ศ. 2526  
  ราชอาณาจักรปรัสเซีย   เจ้าชายจอร์จ ฟรีดิชแห่งปรัสเซีย พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2537 ราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น เป็นลื่อ (ลูกของเหลน) ในสมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี กษัตริย์ปรัสเซียตั้งแต่ พ.ศ. 2431 ถึง พ.ศ. 2461 โดยเปลี่ยนพระอิศริยยศเป็นจักรพรรดิ จากนั้นทรงถูกล้มล้างราชบัลลังก์หลังจากทรงพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยสาธารณรัฐ เจ้าชายคาร์ล ฟรีดริชแห่งปรัสเซีย พ.ศ. 2556  
  ราชอาณาจักรแซกโซนี   มาเรีย เอ็มมานูเอล มาร์เกรฟแห่งเมสเซน พ.ศ. 2469 พ.ศ. 2511 ราชวงศ์เวททิน เป็นพระปนัดดาในพระเจ้าเฟรเดอริค ออกุสตัสที่ 3 แห่งแซกโซนี กษัตริย์แซกโซนีตั้งแต่ พ.ศ. 2447 ถึง พ.ศ. 2461 ทรงถูกล้มล้างราชบัลลังก์จากการปฏิวัติเยอรมัน เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งแซกโซนี พ.ศ. 2477  
  ราชอาณาจักรเวสต์ฟาเลีย เจ้าชายชาร์ลส์ นโปเลียนแห่งฝรั่งเศส พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2540 ราชวงศ์โบนาปาร์ต ทรงมีศักดิ์เป็นลื่อ (ลูกของเหลน) ของพระเจ้าเจโรมที่ 1 แห่งเวสต์ฟาเลีย กษัตริย์เวสต์ฟาเรียในปีพ.ศ. 2350 ถึงพ.ศ. 2356 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยถูกผนวกเข้ากับราชอาณาจักรฮาโนเวอร์และรัฐเฮสส์ เจ้าชายฌอง คริสตอฟ นโปเลียน พ.ศ. 2529  
  ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค   คาร์ล ดยุคแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค พ.ศ. 2479 พ.ศ. 2518 ราชวงศ์เวือร์ทเทิมแบร์ค เป็นพระนัดดาในพระเจ้าวิลเลียมที่ 2 แห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค กษัตริย์เวือร์ทเทิมแบร์คในปีพ.ศ. 2434 ถึงพ.ศ. 2461 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติเยอรมัน ฟรีดิช ดยุครัชทายาทแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค พ.ศ. 2504  

อิตาลี

แก้
ประเทศ รูป ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ เกิด ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ ราชวงศ์ ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ ผู้สืบทอดลำดับถัดไป เกิด รูป
  ราชอาณาจักรอิตาลี  

 
เจ้าชายวิกเตอริโอ เอ็มมานูเอลแห่งเนเปิลส์

เจ้าชายไอมอน ดยุคแห่งอะพิวลา
พ.ศ. 2480



พ.ศ. 2510

พ.ศ. 2526



พ.ศ. 2564

ราชวงศ์ซาวอย เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี กษัตริย์แห่งอิตาลีในพ.ศ. 2489 จากนั้นประชาชนมีประชามติให้ล้มล้างระบอบกษัตริย์

พระญาติในสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี กษัตริย์แห่งอิตาลีในพ.ศ. 2489
เจ้าชายเอ็มมานูเอล ฟิลิแบร์โตแห่งเวนิซและเพียดมอนท์

เจ้าชายอุมแบร์โต้แห่งซาวอย โอสตา
พ.ศ. 2515

พ.ศ. 2552
 



  ราชอาณาจักรเนเปิลส์   โจอาคิม เจ้าชายมูราท์ที่ 8 พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2487 ราชวงศ์มูราท์ เชื้อสายในโจอาคิม มูราท์ กษัตริย์แห่งเนเปิลส์ตั้งแต่พ.ศ. 2351 ถึงพ.ศ. 2358 โจอาคิม เจ้าชายแห่งปอร์เตโคร์โว พ.ศ. 2516  
  ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง  

 
เจ้าชายคาร์ลอส ดยุคแห่งคาลาเบรีย

เจ้าชายคาร์โล ดยุคแห่งคัสโตร
พ.ศ. 2481

พ.ศ. 2506
พ.ศ. 2507

พ.ศ. 2551
ราชวงศ์บูร์บง เชื้อสายในพระเจ้าแฟร์ดีนันด์ที่ 2 แห่งซิซิลีทั้งสอง กษัตริย์แห่งซิซิลีทั้งสองในพ.ศ. 2373 ถึงพ.ศ. 2402 จากนั้นในรัชสมัยของพระเจ้าฟรานซิสที่ 2 แห่งซิซิลีทั้งสอง ทรงถูกล้มล้างระบอบกษัตริย์โดยการรวมชาติอิตาลีภายใต้ราชวงศ์ซาวอย เจ้าชายเปโดร ดยุคแห่งโนโต

เจ้าชายแอนโตนแห่งบูร์บง ซิซิลีทั้งสอง
พ.ศ. 2511

พ.ศ. 2472
 

 

ทวีปแอฟริกา

แก้
ประเทศ รูป ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ เกิด ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ ราชวงศ์ ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ ผู้สืบทอดลำดับถัดไป เกิด รูป
  จักรวรรดิเบนิน   พระเจ้าอีรีดิเอาวาที่ 1 โอบาแห่งเบนิน พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2521 โอบาแห่งเบนิน เป็นพระปนัดดาในพระเจ้าโอวอนรามเว็น โอบาแห่งเบนิน ครองราชย์ตั้งแต่พ.ศ. 2431 ถึงพ.ศ. 2440 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างหลังจากจักรวรรดิเบนินถูกผนวกเข้ากับอาณานิคมอังกฤษ ? ? ?
  ราชอาณาจักรบุรุนดี   เจ้าหญิงโรส เปาลา อิริบากิซา แห่งบุรุนดี พ.ศ. 2477 พ.ศ. 2520 ราชวงศ์นัทเวโต เป็นพระธิดาในพระเจ้ามวัมบุทซาที่ 4 บันกิริเชงแห่งบุรุนดี ครองราชย์ตั้งแต่พ.ศ. 2458 ถึงพ.ศ. 2509 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติโดยสาธารณรัฐ เรมี มูฮิรวา ? ?
  จักรวรรดิแอฟริกากลาง   เจ้าชายฌ็อง-เบแดล บอกาซา มกุฎราชกุมารแห่งแอฟริกากลาง พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2539 ราชวงศ์โบคาสซาร์ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิฌอง-บาเดล โบคาสซาร์ที่ 1 แห่งแอฟริกากลาง ครองราชย์ตั้งแต่พ.ศ. 2519 ถึงพ.ศ. 2522 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยมีการฟื้นฟูระบอบสาธารณรัฐ เจ้าชายฌอง-เบแดล บอกาซา พ.ศ. 2528 ?
  ราชอาณาจักรอียิปต์   พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2496 ราชวงศ์มุฮัมหมัด อาลี เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์ตั้งแต่พ.ศ. 2495 ถึงพ.ศ. 2496 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติอียิปต์โดยสาธารณรัฐ เจ้าชายมุฮัมหมัด อาลีแห่งซาอิด พ.ศ. 2522  
  จักรวรรดิเอธิโอเปีย   เซรา ยาคอบ อัมฮา เซลาสซี มกุฎราชกุมารแห่งเอธิโอเป๊ย พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2540 ราชวงศ์โซโลมอน เป็นพระนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย จักรพรรดิแห่งเอธิโอเปียตั้งแต่พ.ศ. 2473 ถึงพ.ศ. 2507 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยเผด็จการคอมมิวนิสต์เดร็ก พอล วอซเซน ซากัด มาคอนเนน พ.ศ. 2490 ?
  จักรวรรดิเอธิโอเปีย   เกอมา โยฮันนิส ฮิยาซู พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2540 ราชวงศ์โซโลมอน พระนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอิยาซูที่ 5 แห่งเอธิโอเปีย จักรพรรดิตั้งแต่พ.ศ. 2456 ถึงพ.ศ. 2459 ? ? ?
  ราชอาณาจักรลิเบีย   เจ้าชายมูฮัมหมัด อิล เซนนุสซี มกุฎราชกุมารแห่งลิเบีย พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2535 ราชวงศ์เซนุสซิ เป็นพระนัดดาในพระเจ้าอิดิสที่ 1 แห่งลิเบีย กษัตริย์ลิเบียตั้งแต่พ.ศ. 2494 ถึงพ.ศ. 2512 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยเผด็จการทหาร เจ้าชายคาเลด เอล เซนุสซี พ.ศ. 2508 ?
  ราชอาณาจักรรวันดา   พระเจ้ายูฮีที่ 6 แห่งรวันดา พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2560 ราชวงศ์นิดาฮินดูรวา พระภาติยะในพระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยคณะปฏิวัติ ? ? ?
  ราชอาณาจักรอียิปต์และซูดาน   พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2496 ราชวงศ์มุฮัมหมัด อาลี เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดานตั้งแต่พ.ศ. 2495 ถึงพ.ศ. 2496 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติอียิปต์โดยสาธารณรัฐ เจ้าชายมูฮัมหมัด อาลี เจ้าชายแห่งซาอิด พ.ศ. 2522  
  ราชอาณาจักรตูนิเซีย   เจ้าชายมุฮัมหมัด เบย์ พ.ศ. 2471 พ.ศ. 2549 ราชวงศ์ฮูไซนิด เชื้อสายของพระเจ้ามุฮัมหมัดที่ 5 อัน-นาเซอร์ กษัตริย์แห่งตูนิเซียตั้งแต่พ.ศ. 2449 ถึงพ.ศ. 2465 กษัตริย์องค์สุดท้ายคือพระเจ้ามูฮัมหมัดที่ 8 อัล อามินแห่งตูนิเซีย ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยสาธารณรัฐ เจ้าชายมูฮัมหมัด เบย์ พ.ศ. 2490 ?
  รัฐสุลต่านแซนซิบาร์ สุลต่านจัมซิด บิน อับดุลลาห์แห่งแซนซิบาร์ พ.ศ. 2472 พ.ศ. 2507 ราชวงศ์ซาอิด ทรงเป็นสุลต่านองค์สุดท้ายแห่งแซนซิบาร์ตั้งแต่พ.ศ. 2506 ถึงพ.ศ. 2507 ระบอบกษัตริย์ถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติแซนซิบาร์ เจ้าชายไซยิด อาลี บิน จัมซิด อัล บูไซดิ พ.ศ. 2499 ?

ทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

แก้
ประเทศ รูป ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์' เกิด ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ ราชวงศ์ ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ ผู้สืบทอดลำดับถัดไป เกิด รูป
  ราชอาณาจักรอาเรากาเนียและปาตาโกเนีย   เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งอาเรากาเนียและปาตาโกเนีย พ.ศ. 2507 พ.ศ. 2561 ราชวงศ์ลูซ (Boiry) ผู้สืบทอดของพระเจ้าโอเลลี อองตวน แห่งตูแนนส์ (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1860-1878) อองรี ลูซ ? ?
  จักรวรรดิบราซิล   เจ้าชายหลุยส์แห่งออร์เลอองส์-บราแกนซา ค.ศ. 1938 ค.ศ. 1981 ราชวงศ์ออร์เลอองส์-บรากันซา สืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระจักรพรรดิเปโดรที่ 2 แห่งบราซิล (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1831-1889) เจ้าชายเบอร์แทรนด์แห่งออร์เลอองส์และบรากันซา ค.ศ. 1941  
  จักรวรรดิบราซิล   เจ้าชายเปโดร กาโลส แห่งออร์เลอองส์และบรากันซา ค.ศ. 1945 ค.ศ. 2007 ราชวงศ์ออร์เลอองส์-บรากันซา สืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระจักรพรรดิเปโดรที่ 2 แห่งบราซิล (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1831-1889) เจ้าชายเปโดร ติเอโก แห่งออร์เลอองส์และบรากันซา ค.ศ. 1979  
  จักรวรรดิเม็กซิโก ? เจ้าชายแม็กซิมิเลียนแห่งเกิตเซนและอีตูร์ไบด์ ค.ศ. 1944 ค.ศ. 1949 ราชวงศ์อีตูร์ไบด์ สืบเชื้อสายมาจากเจ้าชายซัลวาดอร์แห่งอีตูร์ไบด์พระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกุสติงที่ 1 แห่งแม็กซิโก (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1822-1823) เจ้าชายเฟอร์นันโดแห่งเกิตเซนและอีตูร์ไบด์ ค.ศ. 1992  
  ชาติมีสกีโต   นอร์ตัน คุธเบิร์ก กราเรนซ์ ? ค.ศ. 1978 ? ในช่วงปี ค.ศ. 1978 เขาได้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์อาณาจักรมีสกีโตโดยตั้งตนเป็นผู้นำของชนชาติมีสกีโต ? ? ?

ทวีปเอเชีย

แก้
ประเทศ รูป ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์' เกิด ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ ราชวงศ์ ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ ผู้สืบทอดลำดับถัดไป เกิด รูป
  รัฐสุลต่านอาเจะฮ์   หะซัน ดิ ไทโร พ.ศ. 2473 ? ราชวงศ์ไทโร ผู้สืบเชื้อสายสุลต่านแห่งอาเจะฮ์ ? ? ?
  อัฟกานิสถาน   มกุฎราชกุมารอาห์หมัด ชาห์ ข่าน พ.ศ. 2477 พ.ศ. 2550 ราชวงศ์บาราคไซ โอรสองค์ใหญ่ที่ยังดำรงพระชนม์อยู่ของพระเจ้าโมฮัมเหม็ด ซาเฮียร์ ชาห์แห่งอัฟกานิสถาน ชาห์แห่งอัฟกานิสถานระหว่าง พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2516 มุฮัมมัด ซาฮีร์ ข่าน พ.ศ. 2505 ?
  เอมิเรตแห่งบูคารา   ซัยยิด มีร์ อิบรอฮิม ข่าน พ.ศ. 2446 พ.ศ. 2487 ราชวงศ์มางกิต โอรสของซัยยิด มีร์ โมฮัมเหม็ด อาลิม ข่าน (เอเมียร์แห่งบุคาราระหว่าง พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2463) ? ? ?
  ราชอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์   เจ้าแก้ว ณ จำปาศักดิ์ พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2523 ราชสกุล ณ จำปาศักดิ์ นัดดา (หลานปู่) ของเจ้าราชดนัย (เจ้ายุติธรรมธร หยุย ณ จำปาศักดิ์) (เจ้าผู้ปกครองนครระหว่าง พ.ศ. 2443 - พ.ศ. 2447) เจ้าไซซะนะสัก ณ จำปาศักดิ์ พ.ศ. 2489  
  จีน
(ราชวงศ์ชิง)
  อ้ายซินเจว๋หลัว เหิงเจิน พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2540 ราชวงศ์ชิง[1] ผู้สืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2393) อ้ายซินเจว๋กัวโร จินซิง 1977  
  จีน
(ราชวงศ์หยวน)
  วินเซนต์ หยวน[2] พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2546 ราชวงศ์หยวน เหลนของหยวน ซื่อไข่ (ตั้งตนเป็นจักรพรรดิระหว่าง พ.ศ. 2458 - 2459) จาดา หยวน ?  
จีน
(ราชวงศ์หมิง)
  จู หรงจี พ.ศ. 2471 ราชวงศ์หมิง (แซ่จู) [3] จู หรงจี้เองไม่เคยประกาศอ้างสิทธิในราชสมบัติ แต่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่าง พ.ศ. 2541-2546 เขาเป็นผู้สืบเชื้อสายจากจักรพรรดิหงหวู่ (จูหยวนจาง)[4] (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 1911 - พ.ศ. 1941)
  จอร์เจีย   เจ้าชายนุกซาร์ บักราติอน-กรูซินสกีแห่งจอร์เจีย พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2527 ราชวงศ์บักรัตติโอนี สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าจอร์จที่ 12 แห่งจอร์เจีย (ครอราชย์ในปี ค.ศ. 1798-1800) เจ้าหญิงแอนนา บักราติอน-กรูซินสกีแห่งจอร์เจีย พ.ศ. 2519  
  เจ้าชายดาวิด บักราติอนแห่งมุครานี พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2551 ราชวงศ์บักรัตติโอนี สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 2 แห่งจอร์เจีย (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1478-1505) กิออร์กี บักราติอนแห่งมุครานี พ.ศ. 2554
  อิหร่าน
(ราชวงศ์ปาห์ลาวี)
  เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2523 ราชวงศ์ปาห์ลาวี โอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2522) เจ้าชายอาลี แพทริค ปาห์ลาวี พ.ศ. 2490  
  อิหร่าน
(ราชวงศ์กอญัร)
  เจ้าชายโมฮัมหมัด หะซัน มีร์ซา ที่ 2 พ.ศ. 2492 พ.ศ. 2531 ราชวงศ์กอญัร ผู้สืบเชิ้อสายพระเจ้าโมฮัมหมัด อาลี ชาห์ กอญัร (พระเจ้าชาห์ระหว่าง พ.ศ. 2450 - พ.ศ. 2452) เจ้าชายอาร์ซาลัน มีร์ซา ?  
  ราชอาณาจักรอิรัก   เจ้าชายระอัด บิน เซอิด พ.ศ. 2479 พ.ศ. 2513 ราชวงศ์ฮาชิม ลูกพี่ลูกน้องของพระเจ้าไฟซาลที่ 2 แห่งอิรัก (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2482 - พ.ศ. 2501) เจ้าชายเซอิด ระอัด บิน เซอิด อัลฮุสเซน พ.ศ. 2507  
  ซารีฟ อาลี บิน อัลฮุสเซน พ.ศ. 2499 พ.ศ. 2501[5] ? ? ?
  ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม   พระเจ้าควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน พ.ศ. 2481 พ.ศ. 2518 ราชวงศ์บูร์บง ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 แห่งสเปน พ.ศ. 2511  
  ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม หลุยส์ อัลฟองซ์ ดยุคแห่งอองชู พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2532 ราชวงศ์บูร์บง ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง พระเจ้าควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน พ.ศ. 2481  
  ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม   เจ้าชายวิกเตอริโอ เอ็มมานูเอลแห่งเนเปิลส์ พ.ศ. 2480 พ.ศ. 2526 ราชวงศ์ซาวอย ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง เจ้าชายเอ็มมานูเอล ฟิลิแบร์โตแห่งเวนิซและเพียดมอนท์ พ.ศ. 2515  
  ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม   คาร์ล ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2554 ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง แฟร์ดีนันด์ โซโวนีเมียร์ ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน พ.ศ. 2540  
  ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม ? อินฟานเต คาร์ลอส ดยุคแห่งคาลาเบรีย พ.ศ. 2481 พ.ศ. 2507 ราชวงศ์บูร์บง ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง เจ้าชายเปโดร ดยุคแห่งโนโต 1968  
  ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม   เจ้าชายคาร์โล ดยุคแห่งคัสโตร พ.ศ. 2506 พ.ศ. 2551 ราชวงศ์บูร์บง ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง เจ้าชายแอนโตนแห่งบูร์บง ซิซิลีทั้งสอง พ.ศ. 2472 ?
  ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม ? ชาร์ลส-แอนโตน ลามอรัล พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2548 ราชวงศ์ลิกน์ ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง เจ้าชายเอ็ดดูอัร์ด พ.ศ. 2519 ?
  ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม ? แพทริค กินเนส พ.ศ. 2499 พ.ศ. 2542 ตระกูลกินเนส ราชอาณาจักรเยรูซาเล็มได้ล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 1834 การสืบทอดราชสมบัติในที่นี้เป็นการสืบทอดเชิงทฤษฏีจากคำถามที่ว่า หากมีการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ผู้ใดควรจะได้ครอบครองสิทธินี้โดยชอบธรรมบ้าง จัสมิน กินเนส พ.ศ. 2519 ?
  ราชรัฐคาลัต   อะกา สุไลมาน ยัน พ.ศ. 2510 พ.ศ. 2541 ราชวงศ์อาห์มัดไซ พระโอรสในอาเหม็ด ยาร์ ข่าน (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1933-1955) ? ? ?
  จักรวรรดิเกาหลี เจ้าชายอี ซ็อก พ.ศ. 2484 พ.ศ. 2549 ราชวงศ์โชซ็อน[6] พระราชนัดดา (หลานปู่) ในสมเด็จพระจักรพรรดิควางมู (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2450) แอนดรูว์ ลี ? ?
  เจ้าชายวอน รัชทายาทแห่งเกาหลี พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2548 โอรสบุญธรรมของเจ้าชายโฮอุนแห่งเกาหลี ผู้เป็นพระราชนัดดา (หลานปู่) ในสมเด็จพระจักรพรรดิควางมู (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2450) อี กวอน พ.ศ. 2541 ?
  ราชอาณาจักรลาว   เจ้าสุลิวงศ์ สว่าง พ.ศ. 2506 พ.ศ. 2521
พ.ศ. 2527
ราชวงศ์ล้านช้าง (ราชวงศ์ขุนลอ) พระราชนัดดา (หลานปู่) ในพระเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2502 - 2518) เจ้าธัญวงศ์ สว่าง พ.ศ. 2507  
  มัลดีฟส์   เจ้าชาย มูฮัมหมัด นูร์ อัด-ดิน ? พ.ศ. 2512 ราชวงศ์ฮูรา พระโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮัสซัน นูรัดดีน ที่ 2 (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2478 - 2486) เจ้าชาย อิบราฮิม นูร์ อัด-ดิน ?  
  แมนจูกัว   จิน ยูซาง พ.ศ. 2485 พ.ศ. 2558 ราชวงศ์ชิง พระภาติยะของจักรพรรดิคังเต๋อ
(ปูยี)
(อยู่ในราชสมบัติระหว่าง 1934 - 1945)
จิน ยู่ฉวน พ.ศ. 2489  
  มองโกเลีย (ในความปกครองของราชวงศ์ชิง)   อ้ายซินเจว๋หลัว เหิงเจิน พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2540 ผู้สืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2393) อ้ายซินเจว๋กัวโร จินซิง พ.ศ. 2520  
  อาณาจักรพม่า (ราชวงศ์อลองพญา)   ตอ พญา มยัต จี พ.ศ. 2488 พ.ศ. 2562 ราชวงศ์อลองพญา พระปนัดดาของพระเจ้าสีป่อ (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2421 - พ.ศ. 2428) หม่อง อ่อง คีน พ.ศ. 2507
  ราชอาณาจักรเนปาล   สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2551 ราชวงศ์ศาห์ กษัตริย์แห่งเนปาลระหว่าง พ.ศ. 2544 - 2551 (ประเทศเนปาลเปลี่ยนแปลงเป็นระบอบสาธารณรัฐ) มกุฎราชกุมารปาราสวีรวิกรมศาหเทวะ พ.ศ. 2514  
  รัฐสุลต่านกูไอติ   กาหลิบที่ 2 พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2510 ราชวงศ์อัล-กูไอติ สุลต่านกูไอติระหว่าง พ.ศ. 2509 - 2510 เจ้าชายซาเลห์ บิน กาหลิบ อัล-กูไอติ 1977  
  ราชอาณาจักรริวกิว   โช มาโมรุ พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2539 ราชวงศ์โช สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าโชไท (ครองราชย์ ค.ศ. 1848-1879) Takeshi Shō ? ?
  รัฐซาราวัก   ลอเรนซ์ นิโคลัส บรูค พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2560 ตระกูลบรูค สืบเชื้อสายจากชาร์ล ไวเนอร์ บรูค (รายาผิวขาวแห่งซาราวักระหว่าง พ.ศ. 2460 - พ.ศ. 2489) เจสัน บรูค พ.ศ. 2528  
  ดินแดนสิงคโปร์   เติงกู ซรี อินทรา ? พ.ศ. 2539 ? ผู้สืบเชื้อสายจากสุลต่านอาลีแห่งยะโฮร์ (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง 1835-1877) ? ? ?
  รัฐสุลต่านซูลู   จามาลุล คีรัม ที่ 3 พ.ศ. 2481 พ.ศ. 2529 ราชวงศ์คีรัม นัดดา (หลานปู่) ในสุลต่านจามาลุล คีรัม ที่ 1 (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2427 - พ.ศ. 2442) โรดินูด จูลาสพิ คีรัม ?  
  ราชรัฐสวัต ? เมียนกุล ออรังเซบ พ.ศ. 2471 พ.ศ. 2530 ตระกูลเมียนกุล บุตรของเมียนกุล จาฮาน เซบ (ปกครองระหว่าง พ.ศ. 2492 - 2512) เมียนกุล อัดนาน ออรังเซบ พ.ศ. 2495 ?
  ทิเบต   เทนซิน เกียตโซ, ทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่[7] พ.ศ. 2478 พ.ศ. 2483 ทะไลลามะนับตั้งแต่ พ.ศ. 2483
  จักรวรรดิออตโตมัน   ฮารูน ออสมัน พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2564 ราชวงศ์ออสมัน พระราชปนัดดา (เหลน) ในสุลต่านอับดุลฮามิดที่ 2 (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2433 - 2452) ออร์ฮัน ออสมัน พ.ศ. 2506  
  จักรวรรดิเวียดนาม   เจ้าชายบ๋าว เอิน พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2560 ราชวงศ์เหงียน โอรสของสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2468 - พ.ศ. 2488) เหงียน ฟุก กุ๋ย คัง พ.ศ. 2521 ?
  ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน   อกีล บิน มูฮัมหมัด อัล-บาดร์ พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2539 ราชวงศ์อัล-คาซิมิ โอรสของพระเจ้ามูฮัมหมัด อัล-บาดร์ (อยู่ในราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2505 - 2513) มูฮัมหมัด อัล-ฮัสซัน บิน อกีล ?  
  ราชอาณาจักรล้านนา(นครเชียงใหม่)   เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ พ.ศ. 2478 พ.ศ. 2532 ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ ราชนัดดา (หลานปู่) ในเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 (พ.ศ. 2454 - 2482) เจ้าพัฒนา ณ เชียงใหม่ ?  
  นครลำพูน   พลอากาศตรี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน พ.ศ. 2483 พ.ศ. 2538 ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ ราชนัดดา (หลานปู่) ในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 10 (พ.ศ. 2454 - 2486) พันเอก (พิเศษ) เจ้าวีรพงศ์ ณ ลำพูน ?  
  นครลำปาง เจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง พ.ศ. 2558 ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ เหลน ในเจ้าหลวงพรหมาภิพงษ์ธาดา เจ้าผู้ครองนครลำปาง ?  
  นครน่าน   เจ้าสมปรารถนา ณ น่าน พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2542 ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์ นัดดา (หลานตา) ในเจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน) และราชปนัดดา (เหลนตา) ในเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่าน องค์ที่ 64 (พ.ศ. 2462 - 2474)  

ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย

แก้
ประเทศ รูป รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ เกิด ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ ราชวงศ์ ความสัมพันธ์กับบูรพกษัตริย์ ผู้สืบทอดลำดับถัดไป เกิด รูป
  หมู่เกาะโคโคส   จอห์น เซซิล คลูนีส์-รอสส์
(รอสส์ที่ 5)
ค.ศ. 1928 ค.ศ. 1978 ตระกูลคลูนีส์-รอสส์ อ้างตนเป็นกษัตริย์อย่างเป็นทางการในช่วงปี ค.ศ. 1944-1978 จอห์น จอร์จ คลูนีย์-รอสส์ ค.ศ. 1957  
  ราชอาณาจักรฮาวาย   เจ้าชายเควนติน คาวานานาโกอา ค.ศ. 1961 ค.ศ. 1998 ราชวงศ์คาวามานาโกอา สืบเชื้อสายจากสมเด็จพระราชินีนาถลีลีอูโอกาลานี (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1891-1893) คินเควด คาวานานาโกอา ค.ศ. 1996
  ราชอาณาจักรฮาวาย   โอวานา ซาลาซาร์ ค.ศ. 1953 ค.ศ. 1988 ราชวงศ์เคโออูอา สืบเชื้อสายมาจากคาโลคูโอคาไมอีเล พระเชษฐาในพระเจ้าคาเมฮาเมฮา (ครองราชย์ในปี ค.ศ. 1795-1819) โนอา คาโอคูโอคาไมเล เดกีเล ค.ศ. 1981
  ราชอาณาจักรเมารีนิวซีแลนด์   สมเด็จพระราชาธิบดีตูเฮอิเตีย ปากี ค.ศ. 1955 ค.ศ. 2006 ราชวงศ์เมารีนิวซีแลนด์ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระราชินีนาถเต อาตาอิรันกิคาอาฮูทรงเป็นพระมหากษัตริย์ของชาวเมารีนิวซีแลนด์(เพียงในนาม)ซึ่งรัฐธรรมนูญนั้นยังไม่รับรอง ปัจจุบัน พำนัก ณ เกาะเหนือซึ่งบางพวกนั้นกำหนดว่าพระองค์ทรงเป็นผู้นำของชาวเมารีส่วนสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรทรงเป็นผู้นำของชาวอังกฤษ Whatumoana ?  

อ้างอิง

แก้
  1. จักรพรรดิราชวงศ์ชิงทุกพระองค์ใช่แซ่ว่า "อ้ายซินเจว๋หลัว" ([爱新觉罗, „Àixīnjuéluó“)
  2. [1] Luke Chia-Liu Yuan was born in a palace in Beijing. He was the grandson of Yuan Shikai, China's president from 1912 to 1916. In addition to Jada Yuan of Manhattan, he is survived by a son, Vincent, a nuclear physicist, of New Mexico; and a brother, Yuan Jiaji, who lives in Tianjin, China.
  3. จักรพรรดิในราชวงศ์หมิงทุกพระองค์ใช้แซ่ว่า "จู" (朱, „Zhū“)
  4. Descended from Zhu Yuanzhang, the first Ming-dynasty Emperor (1368-98), the Zhu clan was a big landowner around Changsha in Hunan province, where Zhu was born in 1928 เก็บถาวร 2009-10-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (Zhu Yuanzhang's era name was Hongwu)
  5. ไม่เป็นทางการ
  6. ราชวงศ์ลีเป็นราชวงศ์ของเหล่าผู้สืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรโชซอนและจักรวรรดิเกาหลี
  7. ประมุขฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักรอย่างเป็นทางการของทิเบต ตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นที่เมืองธรรมศาลา ประเทศอินเดีย นับตั้งแต่การเข้ายึดครองทิเบตโดยจีนในปี พ.ศ. 2493

ดูเพิ่ม

แก้