วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8

สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8 (22 มีนาคม พ.ศ. 2543 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกชุดแรกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543[1] ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง จำนวน 200 คน ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 315 วรรคห้า (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กำหนดให้สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาชุดนี้เริ่มนับตั้งแต่วันที่สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 สิ้นสุดลง คือ ครบวาระ 4 ปีในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2543

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8
ชุดที่ 7 ชุดที่ 9
ภาพรวม
สภานิติบัญญัติวุฒิสภา
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมอาคารรัฐสภา
วาระ22 มีนาคม 2543 – 21 มีนาคม 2549
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2543
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีชวน 2
คณะรัฐมนตรีทักษิณ
คณะรัฐมนตรีทักษิณ 2
วุฒิสภา
สมาชิก200
ประธานสุชน ชาลีเครือ
รองประธานคนที่ 1นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
รองประธานคนที่ 2สหัส พินทุเสนีย์

ดังนั้น สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาชุดนี้จึงเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา และสิ้นสุดสมาชิกภาพในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2549

สมาชิกวุฒิสภา

แก้

กรุงเทพมหานคร

แก้

มีรายนามดังนี้

จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กรุงเทพมหานคร นายปราโมทย์ ไม้กลัด  
นายดำรง พุฒตาล  
ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง  
นายโสภณ สุภาพงษ์  
พลตำรวจเอก ประทิน สันติประภพ   ลาออก 8 พ.ย. 48
นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์  
นายแก้วสรร อติโพธิ  
นายมีชัย วีระไวทยะ  
นางประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ  
นายสัก กอแสงเรือง  
นายเสรี สุวรรณภานนท์  
นางอิมรอน มะลูลีม  
นายผ่อง เล่งอี้  
นายชุมพล ศิลปอาชา  
นายจอน อึ๊งภากรณ์  
พลตำรวจโท ทวี ทิพยรัตน์  
นายชัชวาลย์ คงอุดม  
คุณหญิงชดช้อย โสภณพนิช  

ภาคกลาง

แก้
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กำแพงเพชร นายสุนทร จินดาอินทร์  
นายอนันต์ ผลอำนวย  
ชัยนาท นางนันทนา สงฆ์ประชา  
นครนายก นายมารุต โรจนาปิยาวงศ์  
นครปฐม นายสราวุธ นิยมทรัพย์  
นายประสิทธิ์ ปทุมารักษ์  
นครสวรรค์ นางมาลินี สุขเวชชวรกิจ  
นายประสิทธิ์ พิทูรกิจจา  
นางพัฒนา ศิริวันสาณฑ์  
นายสมเกียรติ ศรลัมพ์  
นนทบุรี พลเอก ยุทธนา คำดี  
คุณหญิงจิตนา สุขมาก  
นายถวิล จันทร์ประสงค์  
ปทุมธานี นางนิพัทธา อมรรัตเมธา  
นายปรีดี หิรัญพฤกษ์  
พระนครศรีอยุธยา นายนิเวศ พันธ์เจริญวรกุล  
นางสำรวย แขวัฒนะ   ถูกร้องคัดค้าน 13 มี.ค. 44
นายประโภชฌ์ สภาวสุ   เลือกตั้งแทนนางสำรวย 21 เม.ย. 44
พิจิตร นายสุรสิทธิ์ ฉัตรชัยเดช  
นายวิชิต พูลลาภ   ถึงแก่อนิจกรรม 28 ธ.ค. 46
นางบัวล้อม พูลลาภ   เลือกตั้งแทนนายวิชิต 8 ก.พ. 47[2]
พิษณุโลก พลเอก ศิริ ทิวพันธุ์  
นายบุญยืน ศุภสารสาทร  
พลตำรวจโท ณรงค์ อมาตยกุล  
เพชรบูรณ์ นายเกษม ชัยสิทธิ์  
นายประสงค์ โฆษิตานนท์  
นายสุทัศน์ จันทร์แสงศรี  
ลพบุรี นายสนิท วรปัญญา  
พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ   ถูกร้องคัดค้าน 13 มี.ค. 44
นายชงค์ วงษ์ขันธ์   เลือกตั้งแทนพล.อ.ศิรินทร์ 21 เม.ย. 44 และถึงแก่อนิจกรรม 6 ส.ค. 48
พันตำรวจโท ชัชวาล บุญมี   เลือกตั้งแทนนายชงค์ 18 ก.ย. 48
สมุทรปราการ นายจรูญ ยังประภากร  
นายพากเพียร วิริยะพันธุ์   ถึงแก่อนิจกรรม 16 ม.ค. 45
นายสนิท กุลเจริญ   เลือกตั้งแทนนายพากเพียร 24 ก.พ. 45
นายอนันตชัย คุณานันทกุล  
สมุทรสงคราม นายมนตรี สินทวิชัย  
สมุทรสาคร นายวิเชียร เปาอินทร์  
สระบุรี นายบรรฑูรย์ เกริกพิทยา  
พลตรี มนูญกฤต รูปขจร  
สิงห์บุรี นายคำนวณ ชโลปภัมภ์  
สุโขทัย นายจำเจน จิตรธร  
พลเอก พนม จีนะวิจารณะ   ถึงแก่อนิจกรรม 27 ส.ค. 48
นายปิยะชนก ลิมปะพันธุ์   เลือกตั้งแทน พล.อ.พนม 9 ต.ค. 48
สุพรรณบุรี นายสมเกียรติ อ่อนวิมล  
พลเอก มนัส อร่ามศรี  
นายมนัส รุ่งเรือง  
อ่างทอง นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์  
อุทัยธานี นายศิลป์ชัย เชษฐศิลป์  

ภาคเหนือ

แก้
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
เชียงราย นางเตือนใจ ดีเทศน์  
พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน  
นางบุษรินทร์ ติยะไพรัช  
นายวิสิษฐ์ เตชะธีราวัฒน์  
เชียงใหม่ นายอาคม ตุลาดิลก  
พลตำรวจตรี สนาม คงเมือง  
พลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย  
ดร.ถาวร เกียรติไชยากร  
พลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์  
น่าน นายสม ต๊ะยศ  
นายสันติภาพ อินทรพัฒน์   ลาออก 6 มี.ค. 49
อุตรดิตถ์ นายคำนวณ เหมาะประสิทธิ์  
นายอนุชาติ บรรจงศุภมิตร  
พะเยา นายสุรเดช ยะสวัสดิ์  
นางพวงเล็ก บุญเชียง   ถูกร้องคัดค้าน, เลือกตั้งใหม่
นายสงววน นันทชาติ   เลือกตั้งใหม่ 21 เม.ย. 44
แพร่ นายสมพร คำชื่น  
นายสวัสดิภาพ กันทาธรรม  
แม่ฮ่องสอน นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์  
ลำปาง พลตำรวจตรี อำพล งามจิตร  
นายนพดล สมบูรณ์  
นายนิคม เชาว์กิตติโสภณ  
ลำพูน นายสันติ์ เทพมณี  

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แก้
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ นายประศักดิ์ ณ กาฬสินธุ์   ถึงแก่อนิจกรรม 10 มิ.ย. 48
นายเกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง   เลือกตั้งแทนนายประศักดิ์ 17 ก.ค. 48
นายสมบัติ วรามิตร  
นายวิบูลย์ แช่มชื่น  
ขอนแก่น พลตำรวจเอก สมชาย ไชยเวช  
นายแคล้ว นรปติ  
นายสมควร จิตแสง  
นางระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช  
นายพา อักษรเสือ  
นายกวี สุภธีระ   ถูกร้องคัดค้าน 13 มี.ค. 44
นายโกเมศ ฑีฆธนานนท์   เลือกตั้งแทนนายกวี 21 เม.ย. 44
ชัยภูมิ นายพิชิต ชัยวิรัตนะ  
นายสุริยน ภูมิรัตนประพิณ  
นายสุชน ชาลีเครือ  
นายนิรัตน์ อยู่ภักดี  
นครพนม นายสวัสดิ์ ทรัพย์เจริญ  
นายวีรวร สิทธิธรรม  
นครราชสีมา นายบุญทัน ดอกไธสง  
นายพิเชฐ พัฒนโชติ  
นางพรหมจารี รัตนเศรษฐ  
นายวีระพล วัชระประทีป  
นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ  
นายไสว พราหมณี  
นายลำพอง พิลาสมบัติ  
นายอุบล เอื้อศรี  
บุรีรัมย์ นายการุณ ใสงาม  
นางสาวอุชษณีย์ ชิดชอบ  
พันตำรวจเอก สุรพงศ์ ไผ่นวล  
นายพร เพ็ญพาส  
นายเพิ่มพูน ทองศรี  
มหาสารคาม นายทองใบ ทองเปาด์  
นายวิทยา มะเสนา  
นายศรีเมือง เจริญศิริ  
มุกดาหาร นายระวี กิ่งคำวงศ์  
ยโสธร นายสมบูรณ์ ทองบุราณ  
นายสมัย ฮมแสน  
ร้อยเอ็ด นายเกษม มาลัยศรี  
นายสุรชัย ดนัยตั้งตระกูล  
นายวิจิตร มโนสิทธิ์ศักดิ์  
นายประเกียรติ นาสิมมา  
เลย พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก  
หม่อมราชวงศ์กำลูนเทพ เทวกุล  
ศรีสะเกษ นายชวาล มหาสุวีระชัย   ถูกร้องคัดค้าน 13 มี.ค. 44
นางสุนีย์ อินฉัตร   เลือกตั้งแทนนายชวาล 26 พ.ค. 44
นายชิต เจริญประเสริฐ   ถูกร้องคัดค้าน 13 มี.ค. 44 และได้รับเลือกตั้งใหม่ 21 เม.ย. 44
นายณรงค์สิทธิ์ เครือรัตน์  
นายจิโรจน์ โชติพันธุ์  
นางกรองกาญจน์ วีสมหมาย  
สกลนคร นางสาวมาลีรัตน์ แก้วก่า  
นางเพ็ญศักดิ์ จักษุจินดา  
นายวิญญู อุฬารกุล  
สุรินทร์ นายสมสิทธิ์ ศิริเจริญไชย  
นายอำนาจ เธียรประมุข   ถึงแก่อนิจกรรม 21 ส.ค. 48
นายสรรพกิจ ปรีชาชนะชัย   เลือกตั้งแทนนายอำนาจ 25 ก.ย. 48
นายเกษม รุ่งธนเกียรติ   ลาออก 4 มิ.ย. 46
นายปริญญา กรวยทอง   เลือกตั้งแทนนายเกษม 13 ก.ค. 46
นายอุทัยพันธุ์ สงวนเสริมศรี  
หนองคาย นายนิตินัย นาครทรรพ  
นายเชิดพงษ์ อุทัยสาง  
นางอรัญญา สุจนิล  
หนองบัวลำภู นายธวัชชัย เมืองนาง  
นายสามารถ รัตนประทีปพร  
อำนาจเจริญ นายนิพนธ์ สุทธิเดช  
อุดรธานี นายคำพันธ์ ป้องปาน  
นายสุพร สุภสร  
พันเอก สมคิด ศรีสังคม  
นางจิตรา อยู่ประเสริฐ  
พลโท ปัญญา อยู่ประเสริฐ  
อุบลราชธานี นายนิรันดร์ พิทักษ์วัชระ   ถูกร้องคัดค้าน 13 มี.ค. 44 และด้รับเลือกตั้งใหม่ 21 เม.ย. 44
นายวีระศักดิ์ จินารัตน์   ถูกร้องคัดค้าน 13 มี.ค. 44
นายสนิท จันทรวงศ์   เลือกตั้งแทนนายวีระศักดิ์ 21 เม.ย. 44
นายวิชัย ครองยุติ  
นาย อมร นิลเปรม  
นางมลิวัลย์ เงินหมื่น  
นางวิลาวัลย์ ตันวัฒนะพงษ์  

ภาคใต้

แก้
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กระบี่ นายวีรพงศ์ สกลกิติวัฒน์  
ชุมพร นายกมล มั่นภักดี  
ตรัง พลอากาศเอก กานต์ สุระกุล  
นายสมศักดิ์ โล่สถาพรพิพิธ  
นครศรีธรรมราช นายทวี แก้วคง   ถึงแก่อนิจกรรม 23 มิ.ย. 45
นาย ถวิล ไพรสณฑ์   เลือกตั้งแทนนายทวี 4 ส.ค. 45 และลาออก 6 มิ.ย. 49
พลตำรวจเอก มีชัย นุกูลกิจ  
พลโท โอภาส รัตนบุรี  
นายณรงค์ นุ่นทอง  
นายประยุทธ ศรีมีชัย   ถึงแก่อนิจกรรม 9 ส.ค. 47
นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์   เลือกตั้งแทน 19 ก.ย. 47
นราธิวาส นายฟัครุดดีน บอตอ  
นายอูมาร์ ตอยิบ  
ปัตตานี นายเด่น โต๊ะมีนา  
พลตำรวจโท ชูชาติ ทัศนเสถียร  
พังงา นายวงศ์พันธ์ ณ ตะกั่วทุ่ง  
พัทลุง ร้อยตรี อนุกูล สุภาไชยกิจ  
นายโอภาส รองเงิน  
ภูเก็ต นายไพบูลย์ อุปัติศฤงค์  
ยะลา นายมะตา มะทา  
ระนอง นายธรรมนูญ มงคล   ถูกร้องคัดค้าน 13 มี.ค. 44
พลตำรวจเอก มีชัย นุกูลกิจ   เลือกตั้งแทนนายธรรมนูญ 21 เม.ย. 44
สงขลา พันตำรวจเอก ไพจิตร ศรีคงคา  
นายสมพงษ์ สระกวี  
นายบุญญา หลีเหลด  
นายสุรใจ ศิรินุพงศ์  
สตูล พลเอก หาญ ลีลานนท์  
สุราษฎร์ธานี นายภิญญา ช่วยปลอด  
นายเฉลิม พรหมเลิศ   ลาออก 14 มี.ค. 44
นายอนันต์ ดาโลดม   เลือกตั้งแทนนายเฉลิม 21 เมงย. 44
นายมนู วณิชชานนท์  

ภาคตะวันออก

แก้
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
จันทบุรี พลเอก วิชา ศิริธรรม  
นายปรีชา ปิตานนท์  
ฉะเชิงเทรา นายรส มะลิผล  
นายบุญเลิศ ไพรินทร์  
ชลบุรี พลตำรวจโท ปรีชา ปฏิบัติสรกิจ  
พลตำรวจตรี วีระ อนันตกูล  
นายวิโรจน์ อมตกุลชัย   ถึงแก่อนิจกรรม 8 ก.ย. 48
นายเชาวน์ มณีวงษ์   เลือกตั้งแทนนายวิโรจน์ 16 ต.ค. 48
ตราด พลตรี สาคร กิจวิริยะ  
ปราจีนบุรี นายกำพล ภู่มณี  
ระยอง นายนิวัฒน์ พ้นชั่ว  
นายทวีป ขวัญบุรี  
สระแก้ว พลโท โกวิท พัฑฒฆายน   ถึงแก่อนิจกรรม 19 ธ.ค. 45
พลตำรวจตรี เสกสันต์ อุ่นสำราญ   เลือกตั้งแทนพลโท โกวิท 26 ม.ค. 46
นายสหัส พินทุเสนีย์  

ภาคตะวันตก

แก้
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กาญจนบุรี พลเอก บัณฑิตย์ มลายอริศูนย์  
พลเอก วัฒนา สรรพานิช  
ตาก นายอุดร ตันติสุนทร  
นายพนัส ทัศนียานนท์  
ประจวบคีรีขันธ์ ร้อยตรีอำนวย ไทยานนท์  
เพชรบุรี นายพิชัย ขำเพชร  
ราชบุรี ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ  
นายนภินทร ศรีสรรพางค์  
นายปราโมทย์ ไพชนม์  

ผู้ดำรงตำแหน่ง

แก้
ประธานวุฒิสภา
รองประธานวุฒิสภา คนที่ 1
  • นายเฉลิม พรหมเลิศ ตั้งแต่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2543 – 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 (0 ปี 199 วัน)
  • นายพิเชฐ พัฒนโชติ ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 – 6 มีนาคม พ.ศ. 2546 (2 ปี 18 วัน)
  • นายสุชน ชาลีเครือ ตั้งแต่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2546 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2547 (1 ปี 17 วัน)
  • นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ตั้งแต่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2547 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 (1 ปี 363 วัน)
รองประธานวุฒิสภา คนที่ 2

อ้างอิง

แก้
  1. พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2543 (ในวันที่ 4 มีนาคม 2543)
  2. "งดทูลเกล้าฯ พ.ร.บ.ราชภัฏ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-25. สืบค้นเมื่อ 2021-07-22.
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานวุฒิสภา (นายสนิท วรปัญญา นายเฉลิม พรหมเลิศ นายบุญทัน ดอกไธสง)

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้