พ.ศ. 2567
พุทธศักราช 2567 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2024 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีมะโรง ฉศก จุลศักราช 1386 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
- ปีที่ 5 ของคริสต์ทศวรรษ 2020, ปีที่ 24 ของคริสต์ศตวรรษที่ 21 และปีที่ 24 ของคริสต์สหัสวรรษที่ 3
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2567 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 2024 MMXXIV |
Ab urbe condita | 2777 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1473 ԹՎ ՌՆՀԳ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6774 |
ปฏิทินบาไฮ | 180–181 |
ปฏิทินเบงกอล | 1431 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2974 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 2 Cha. 3 – 3 Cha. 3 |
พุทธศักราช | 2568 |
ปฏิทินพม่า | 1386 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7532–7533 |
ปฏิทินจีน | 癸卯年 (เถาะธาตุน้ำ) 4720 หรือ 4660 — ถึง — 甲辰年 (มะโรงธาตุไม้) 4721 หรือ 4661 |
ปฏิทินคอปติก | 1740–1741 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3190 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 2016–2017 |
ปฏิทินฮีบรู | 5784–5785 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2080–2081 |
- ศกสมวัต | 1946–1947 |
- กลียุค | 5125–5126 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 12024 |
ปฏิทินอิกโบ | 1024–1025 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1402–1403 |
ปฏิทินอิสลาม | 1445–1446 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเรวะ 6 (令和6年) |
ปฏิทินจูเช | 113 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4357 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 113 民國113年 |
เวลายูนิกซ์ | 1704067200–1735689599 |
ตลอดปีนี้มีการจัดการเลือกตั้งระดับชาติราว 76 ประเทศทั่วโลก ครอบคลุมประชากรราว 4 พันล้านคน[1][2][3][4] ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก 8 ใน 10 ประเทศแรก ได้แก่ บังกลาเทศ, บราซิล, ปากีสถาน, เม็กซิโก, รัสเซีย, สหรัฐ, อินเดีย และอินโดนีเซีย[1] รวมทั้งสหราชอาณาจักร[5][6] และสหภาพยุโรป[7] จะจัดการเลือกตั้งขึ้นในปีนี้
ผู้นำประเทศไทย
แก้- พระมหากษัตริย์ไทย: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน)
- นายกรัฐมนตรีไทย:
- เศรษฐา ทวีสิน (22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 – 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567)
- ภูมิธรรม เวชยชัย (รักษาการ: 14 – 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567)
- แพทองธาร ชินวัตร (16 สิงหาคม พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน)
เหตุการณ์
แก้มกราคม
แก้- 1 มกราคม
- อียิปต์, เอธิโอเปีย, อิหร่าน, ซาอุดีอาระเบีย และ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กลายเป็นสมาชิก บริกส์[8]
- สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อนากอร์โน-คาราบัครวมเป็นหนึ่งเดียวกับอาเซอร์ไบจาน[9]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.4 ทางชายฝั่งตะวันตกของญี่ปุ่น ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 221 รายและบาดเจ็บ 1,120 ราย[10][11]
- 2 มกราคม – เหตุเครื่องบินชนกันบนทางวิ่งท่าอากาศยานฮาเนดะ พ.ศ. 2567: เครื่องบิน แอร์บัส เอ350-941 ของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์เที่ยวบินที่ 516 พุ่งชนกับเครื่องบินของหน่วยยามฝั่งญี่ปุ่นบนทางวิ่งของสนามบินฮาเนดะ ทำให้เจ้าหน้าที่หน่วยยามฝั่งเสียชีวิต 5 คน[12]
- 3 มกราคม – เหตุระเบิดในเคร์มอน: รัฐอิสลามก่อเหตุระเบิดสองครั้งในระหว่างพิธีระลึกถึงการครบรอบการลอบสังหารกอเซม โซเลย์มอนี ในเคร์มอน ประเทศอิหร่าน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 94 คน[13]
- 9 มกราคม – กาบรีแยล อาตาล ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีประเทศฝรั่งเศส
- 12 มกราคม – สหรัฐอเมริกาเริ่มปฏิบัติการทางทหารต่อประเทศเยเมน
- 13 มกราคม – การเลือกตั้งประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน พ.ศ. 2567: ไล่ ชิงเต๋อ จากพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้าชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงร้อยละ 40[14]
- 14 มกราคม - สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก สละราชสมบัติ และสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 10 แห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ เสด็จขึ้นครองราชย์[15]
- 15 มกราคม ภูเขาไฟสวาร์ตเซนกิในประเทศไอซ์แลนด์ระเบิดมีผู้เสียชีวิตหนึ่งราย[16]
- 19 มกราคม – ญี่ปุ่นกลายเป็นประเทศที่ 5 ที่สามารถลงจอดแบบนุ่มนวลบนดวงจันทร์ได้สำเร็จด้วยยานลงจอดอัจฉริยะเพื่อสำรวจดวงจันทร์[17][18]
- 24 มกราคม – เครื่องบินขนส่งทางทหารอิลยูชิน อิล-76 ของรัสเซียพร้อมเชลยศึกชาวยูเครน 65 คน ลูกเรือ 6 คน และผู้คุม 3 คน เกิดอุบัติเหตุตกในเขตโคโรชานสกีของรัสเซียใกล้ชายแดนยูเครน ส่งผลให้ทุกคนบนเครื่องเสียชีวิต[19]
- 31 มกราคม – สุลต่าน อิบราฮิม อิซมาอิล เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นยังดีเปอร์ตวนอากง พระองค์ที่ 17 แห่งมาเลเซีย[20]
กุมภาพันธ์
แก้- 6 กุมภาพันธ์– อดีตประธานาธิบดีชิลี เซบาสเตียน ปิเญรา เสียชีวิตจากอุบัติเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกขณะมีอายุได้ 74 ปี
- 7 กุมภาพันธ์ – การเลือกตั้งประธานาธิบดีอาเซอร์ไบ จาน: ท่ามกลางการคว่ำบาตรของฝ่ายค้าน ประธานาธิบดีอิลฮัม อาลีเยฟได้รับการเลือกตั้งเป็นสมัยที่ห้า
- 8 กุมภาพันธ์ – การเลือกตั้งทั่วไปของปากีสถาน : นักการเมือง อิสระซึ่งส่วนใหญ่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองที่ถูกห้ามอย่างปากีสถาน Tehreek-e-Insafได้รับชัยชนะในที่นั่งส่วนใหญ่ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- 11 กุมภาพันธ์ – การเลือกตั้งประธานาธิบดีฟินแลนด์ : ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่สูสีที่สุดในประวัติศาสตร์ฟินแลนด์อเล็กซานเดอร์ สตับบ์ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีในรอบที่สอง
- 14 กุมภาพันธ์ – การเลือกตั้งทั่วไปของอินโดนีเซีย : ปราโบโว ซูเบียนโตชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีและพรรคประชาธิปไตยแห่งการต่อสู้ชนะคะแนนเสียงมากที่สุดในการเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติ
- 22 กุมภาพันธ์ - ยานโนวา-ซีของบริษัทอินทูอิทิฟแมชชีนส์ลงจอดบนดวงจันทร์ กลายเป็นยานอวกาศของบริษัทเอกชนลำแรกที่สามารถลงจอดบนดวงจันทร์ได้[21]
มีนาคม
แก้- 7 มีนาคม - สวีเดนเข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ เป็นประเทศที่ 32 นอกจากนี้ยังทำให้สวีเดนเป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกประเทศสุดท้ายที่เข้าร่วมเป็นพันธมิตร[22][23]
- 13 มีนาคม - รัฐบัญญัติปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งเป็นกรอบทางกฎหมายและกฎระเบียบที่ครอบคลุมฉบับแรกของโลกสำหรับปัญญาประดิษฐ์ ได้รับการอนุมัติโดยสหภาพยุโรป[24]
- 15 - 17 มีนาคม - การเลือกตั้งประธานาธิบดีรัสเซีย พ.ศ. 2567: วลาดีมีร์ ปูติน ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีรัสเซียและได้ดำรงตำแหน่งอีกสมัยเป็นวาระที่ห้า[25]
- 22 มีนาคม - เกิดเหตุกราดยิงที่โครคุสซีตีฮอลล์ ในเมืองครัสโนกอร์สค์ ประเทศรัสเซีย ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตผู้คนอย่างน้อย 144 ราย และบาดเจ็บ 551 ราย[26]
- 26 มีนาคม - สะพานแฟรนซิส สก็อต คีย์ ในนครบอลทิมอร์ สหรัฐ ถล่มลงมา หลังถูกชนโดยเรือขนส่ง[27]
- 31 มีนาคม - บัลแกเรียและโรมาเนียกลายเป็นสมาชิกของพื้นที่เชงเกนผ่านเส้นทางทะเลและทางอากาศ[28]
เมษายน
แก้- 3 เมษายน – เหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.5 ที่นครฮวาเหลียน ประเทศไต้หวัน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 12 ราย, บาดเจ็บ 1,106 คน และมีผู้สูญหายและติดอยู่ใต้ซากอาคาร 705 คน[29]
- 8 เมษายน – สุริยุปราคาเต็มดวง สามารถมองเห็นได้ทั่วทวีปอเมริกาเหนือ[30]
- 14 เมษายน – ประเทศอิหร่านโจมตีประเทศอิสราเอลด้วยขีปนาวุธ มีผู้บาดเจ็บ 12 ราย[31]
- 16 เมษายน – เหตุอุทกภัยในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณเมืองดูไบของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีผู้เสียชีวิตรวม 32 คน[32]
- 29 เมษายน – เหตุอุทกภัยในรัฐฮิวกรังจีดูซูว ในภาคใต้ของประเทศบราซิล มีผู้เสียชีวิต 100 คน อุทกภัยนี้ถือว่าเลวร้ายที่สุดในบราซิลในรอบ 80 ปี
พฤษภาคม
แก้- 7 - 11 พฤษภาคม – การประกวดเพลงยูโรวิชัน ครั้งที่ 68 เป็นการประกวดเพลงซึ่งจัดขึ้นที่เมืองมัลเมอ ประเทศสวีเดน โดยมีสหภาพการแพร่สัญญาณวิทยุและโทรทัศน์แห่งยุโรป และมีสถานีโทรทัศน์แห่งชาติสวีเดนเป็นเจ้าภาพ โดยมีประเทศที่เข้าร่วมทั้งหมด 37 ประเทศ
- 10 พฤษภาคม – เหตุการณ์พายุสุริยะในเดือนพฤษภาคม 2024 ที่โลกได้รับผลกระทบจากระลอกพายุสุริยะที่มีเปลวสุริยะและพายุแม่เหล็กโลกความรุนแรงมาก ที่กระทบโลกในครั้งนี้ถือว่ารุนแรงที่สุดนับตั้งแต่ตุลาคม ปี 2003 และทำให้เกิดออโรราที่ละติจูดที่ต่ำลงมากว่าปกติ ทั้งในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้
- 16 พฤษภาคม – แอมานุแอล มาครงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในนิวแคลิโดเนีย[33]มีผู้เสียชีวิต 7 ราย และยกเลิกในวันที่ 27 พฤษภาคม
- 19 พฤษภาคม – เหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่แวร์แซฆอน เป็นเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพอากาศอิหร่านตกในตำบลแบคแรแบดชนบท ใกล้กับเมืองแวร์แซฆอน ประเทศอิหร่าน ขณะเดินทางจากเขื่อนกีซแกแลซี มุ่งหน้านครแทบรีซ เป็นผลให้ผู้โดยสารและคนขับเสียชีวิตทั้งหมด 9 คน
- 21 พฤษภาคม – ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเนื่องจากเที่ยวบิน สิงคโปร์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 321
มิถุนายน
แก้- 3 มิถุนายน – เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.9 ที่คาบสมุทรโนโตะในจังหวัดอิชิกาวะทางตอนกลางของประเทศญี่ปุ่น เป็นพื้นที่เดียวกับที่เคยเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ในวันขึ้นปีใหม่ที่ผ่านมา[34]
- 14 มิถุนายน - 14 กรกฎาคม – การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024 หรือรู้จักกันในชื่อ ยูโร 2024 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 17 จัดขึ้นโดยยูฟ่า จัดขึ้นที่ประเทศเยอรมนี ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน ถึง 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
- 20 มิถุนายน - 14 กรกฎาคม – การแข่งขันโกปาอาเมริกา 2024 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโกปาอาเมริกา ครั้งที่ 48 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายระดับทีมชาติชิงแชมป์ทวีปอเมริกาใต้ จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) ในปีนี้จะจัดขึ้นที่สหรัฐอเมริกา และร่วมจัดโดยคอนคาแคฟ จัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน ถึง 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
กรกฎาคม
แก้- 3 กรกฎาคม – การระบาดทั่วของโควิด-19: มีผู้เสียชีวิตรวมกัน เกิน 7,010,680 ราย
- 4 กรกฎาคม – การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2567
- 13 กรกฎาคม – ความพยายามลอบสังหารดอนัลด์ ทรัมป์ขณะปราศรัยในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2567 ที่รัฐเพนซิลเวเนีย มีผู้เสียชีวิต 2 คน รวมไปถึงผู้ก่อเหตุที่ถูกวิสามัญฆาตกรรมด้วย และมีผู้บาดเจ็บ 3 คน รวมไปถึงทรัมป์ที่ถูกยิงที่หูขวา
- 19 กรกฎาคม – เหตุอุบัติการณ์คราวด์สไตรก์ ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทั่วโลกประสบปัญหาสัญญาณขาดหาย ซึ่งนำไปสู่การหยุดชะงักอย่างต่อเนื่องในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการอัปเดตคราวด์สไตรก์ที่ผิดพลาด
- 26 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม – การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 33 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
- 27 กรกฎาคม – ยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทและแหล่งวัฒนธรรมสีมาวัดพระพุทธบาทบัวบานเป็นแหล่งมรดกโลก ในชื่อ ภูพระบาท ประจักษ์พยานแห่งวัฒนธรรมสีมาสมัยทวารวดี[35]
สิงหาคม
แก้- 8 สิงหาคม – เหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.1 นอกชายฝั่งทางตะวันตกในจังหวัดมิยาซากิของประเทศญี่ปุ่น ขณะที่เบื้องต้นยังไม่พบรายงานความเสียหายร้ายแรง[36][37]
- 9 สิงหาคม – เหตุเครื่องบินวอยปัสลีญัสอาแอเรียส เที่ยวบินที่ 2283 อดีตเที่ยวบินภายในประเทศบราซิล ซึ่งเดินทางจากท่าอากาศยานกาสกาเวลสู่ท่าอากาศยานนานาชาติเซาเปาลู/กวารุลยุส ขณะเครื่องบินเอทีอาร์ 72-500 ทำการร่องลง เครื่องบินเกิดการหมุนแบบแบนอย่างกะทันหันจนตกลงใกล้กับวินเงโด รัฐเซาเปาลู ณ ขณะนั้นเครื่องบินทำการบินอยู่ที่ระดับความสูง 17,000 ฟุต (5,200 เมตร) ก่อนที่จะหมุนหลุดการควบคุมและร่วงหล่นอย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมด 62 คนเสียชีวิตทั้งหมด
- 17 สิงหาคม – ประเทศอินโดนีเซียเริ่มย้ายเมืองหลวงจากจาการ์ตาไปยังนูซันตารา
- 28 สิงหาคม – 8 กันยายน – พาราลิมปิกฤดูร้อน 2024 เป็นการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 17 โดยการแข่งขันกีฬาของคนพิการระดับโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
กันยายน
แก้- 14 กันยายน – 6 ตุลาคม – ฟุตซอลโลก 2024 เป็นการแข่งขันฟุตซอลโลกครั้งที่ 10 จัดขึ้นที่ประเทศอุซเบกิสถาน
- 17 - 18 กันยายน – เหตุวิทยุติดตามตัวระเบิดในประเทศเลบานอน มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 12 ราย และบาดเจ็บมากกว่า 2,750 คน
- 18 กันยายน – จันทรุปราคาบางส่วน[38]
- 27 กันยายน – เหตุการโจมตีสำนักงานใหญ่ฮิซบุลลอฮ์ คือ ฮะซัน นัศรุลลอฮ์ เลขาธิการฮิซบุลลอฮ์ ถูกลอบสังหารในการโจมตีทางอากาศในเบรุตที่ก่อการโดยกองทัพอากาศอิสราเอล
ตุลาคม
แก้- 1 ตุลาคม – สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ชิเงรุ อิชิบะ นักการเมืองชาวญี่ปุ่นซึ่งดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเสรีประชาธิปไตย (แอลดีพี) ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนปัจจุบัน
- 13 ตุลาคม – การทดสอบการบินของสตาร์ชิปครั้งที่ 5 เป็นการทดสอบการบินครั้งที่ห้าของพาหนะส่งสเปซเอ็กซ์สตาร์ชิป ที่สตาร์เบส ในรัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
- 14 ตุลาคม
- องค์การนาซาปล่อยยานอวกาศ Europa Clipper เพื่อทำความเข้าใจและสำรวจหาความเป็นไปได้ที่จะพบสิ่งมีชีวิตบนดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี[39]
- ยานสตาร์ชิปของสเปซเอ็กซ์ประสบความสำเร็จในการทดสอบลงจอดลงบนฐานปล่อยโดยใช้การหนีบจับตัวยานส่วนบูสเตอร์ไว้[40]
- 16 ตุลาคม – ระหว่างสงครามอิสราเอล–ฮะมาส กองกำลังป้องกันอิสราเอล (IDF) ฆาตกรรมผู้นำฮะมาส ยะฮ์ยา ซินวาร ขณะทำการตรวจตราตามปกติจนไปพบกับซินวารโดยบังเอิญในเมืองราฟะฮ์ของฉนวนกาซา
- 20 ตุลาคม – ประชามติสมาชิกสหภาพยุโรปของมอลโดวาปี 2024 จัดขึ้นและได้รับการอนุมัติอย่างหวุดหวิด
- 29 ตุลาคม – เหตุอุทกภัยในประเทศสเปน คือ ปรากฏการณ์ "หยดเย็น" หรือหย่อมความกดอากาศต่ำที่ถูกตัดขาดในระดับสูงส่งผลให้เกิดฝนตกหนักในหลายพื้นที่ในแคว้นบาเลนเซีย แคว้นกัสติยา-ลามันชา และแคว้นอันดาลูซิอา ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศสเปน ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 223 คน สูญหาย 93 คน และสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สินอย่างมหาศาล
พฤศจิกายน
แก้- 5 พฤศจิกายน – การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งที่ 60 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่างกมลา แฮร์ริสจากพรรคเดโมแครต และดอนัลด์ ทรัมป์จากพรรครีพับลิกัน
- 6 พฤศจิกายน – ภูเขาไฟฟูจิ มีหิมะตกช้าที่สุดในประวัติศาสตร์ในรอบ 130 ปี
- 15 พฤศจิกายน – เจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ แห่งญี่ปุ่นสิ้นพระชนม์ สิริพระชันษา 101 ปี ทรงพระชนม์ยาวนานถึง 4 แผ่นดิน
วันถึงแก่กรรม
แก้มกราคม
แก้- 1 มกราคม – พัสเทว ปันเฑ อดีตนายกรัฐมนตรีตรินิแดดและโตเบโก (เกิด 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2476)[41]
- 2 มกราคม – คุณหญิงนงเยาว์ ชัยเสรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2477)[42]
- 6 มกราคม – โอภาส พลศิลป อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี (เกิด 2 เมษายน พ.ศ. 2464)
- 7 มกราคม – ฟรันทซ์ เบ็คเคินเบาเออร์ อดีตนักฟุตบอลและโค้ชชาวเยอรมัน (เกิด 11 กันยายน พ.ศ. 2488)
กุมภาพันธ์
แก้- 1 กุมภาพันธ์ –
- รังสรรค์ มูลทองสงค์ (ต๊ะ ยมทูต) ยูทูบเบอร์ชาวไทย[43]
- มาร์ค กุสตาฟสัน นักสร้างแอนิเมชันและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2502)[44]
- คาร์ล เวเธอร์ส นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์และนักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2491)[45]
- 2 กุมภาพันธ์ –
- เกร็กกอรี่ ชาร์ลส์ ริเวอร์ส นักแสดงชาวออสเตรเลีย–ฮ่องกง (เกิด 30 เมษายน พ.ศ. 2508)[46]
- เอียน ลาเวนเดอร์ นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489)[47]
- เวย์น เครเมอร์ นักกีตาร์ นักร้องและนักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์และนักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 30 เมษายน พ.ศ. 2491)[48]
- จอนนี่ เออร์วิน พิธีกร นักธุรกิจและนักเขียนและนักพากย์ชาวอังกฤษ (เกิด 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516)[49]
- ดอน เมอร์เรย์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2472)[50]
- วิลเฮลเมเนีย เฟอร์นันเดซ นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 5 มกราคม พ.ศ. 2492)[51]
- 3 กุมภาพันธ์ –
- ไมค์ กิลล์ เจ้าหน้าที่โดนัลด์ ทรัมป์[52]
- โทนี่ ฮัทสัน นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 13 มีนาคม พ.ศ. 2517)[53]
- แอสตัน บาร์เร็ตต์ นักดนตรี นักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์และนักเรียบเรียงชาวจาเมกา (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2489)[54]
- วี โชว เยา นักธุรกิจและนักลงทุนชาวไต้หวัน–สิงคโปร์ (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2472)[55]
- เจ้าชายวิตตอรีโอ เอมานูเอเล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี (ประสูติ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2480)[56]
- 4 กุมภาพันธ์ –
- สตีฟ ออสโตรว์ นักธุรกิจและนักกิจกรรมชาวอเมริกัน (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2475)[57]
- ฮาเก เกนก็อบ ประธานาธิบดีนามิเบียและนายกรัฐมนตรีนามิเบีย (เกิด 3 สิงหาคม พ.ศ. 2484)[58]
- เคิร์ต ฮัมริน นักฟุตบอลชาวสวีเดน (เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477)[59]
- แบร์รี จอห์น นักรักบี้ชาวเวลส์ (เกิด 6 มกราคม พ.ศ. 2488)[60]
- โลวิทยา โอโดโนฮิว ข้าราชการชาวออสเตรเลีย (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2475)[61]
- บรูค เอลลิสัน นักวิชาการชาวอเมริกัน (เกิด 20 ตุลาคม พ.ศ. 2521)[62]
- บ็อบ เบ็ควิธ นักดับเพลิงชาวอเมริกัน (เกิด 16 เมษายน พ.ศ. 2475)[63]
- 5 กุมภาพันธ์ –
- โทบี คีธ นักร้อง นักแต่งเพลงและนักแสดงและโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน (เกิด 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2504)[64]
- ไมเคิล เจย์สตัน นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2478)[65]
- เริงชัย ประภาษานนท์ นักเขียนชาวไทยและศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (เกิด 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472)[66]
- พระราชจินดานายก (คำอ้าย สิริธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดพระเจดีย์ซาวหลัง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2480)[67]
- ฉลามเพชร ศรพิชัย นักมวยชาวไทย[68]
- ยูเชนี ฟาน แอกต์–เครเคลเบิร์ก ภริยาของดรีส ฟัน อัคต์[69]
- ดรีส ฟัน อัคต์ นายกรัฐมนตรีเนเธอร์แลนด์ (เกิด 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474)[70]
- 6 กุมภาพันธ์ –
- จอห์น บรูตัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและพลังงานไอร์แลนด์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไอร์แลนด์และเอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจำสหรัฐ (เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2490)[71]
- เซบาสเตียน ปิเญรา ประธานาธิบดีชิลี (เกิด 1 ธันวาคม พ.ศ. 2492)[72]
- โดนัลด์ คินซีย์ นักกีตาร์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2496)[73]
- แอนโทนี่ เอปสเตน นักพยาธิวิทยาและนักวิชาการชาวอังกฤษ (เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2464)[74]
- เซซิเลีย เจนติลี นักแสดงและนักกิจกรรมชาวอาร์เจนตินา–อเมริกัน (เกิด มกราคม พ.ศ. 2515)[75]
- เซจิ โอซาวะ วาทยกรชาวญี่ปุ่น (เกิด 1 กันยายน พ.ศ. 2478)[76]
- 7 กุมภาพันธ์ –
- อัลเฟรด กรอสเซอร์ นักสังคมวิทยา นักวิทยาศาสตร์และนักเขียนชาวเยอรมัน–ฝรั่งเศส (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468)[77]
- โมโจ นิกสัน พิธีกร นักดนตรีและนักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 2 สิงหาคม พ.ศ. 2500)[78]
- เฮนรี แฟมโบรห์ นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2481)[79]
- 8 กุมภาพันธ์ –
- เพียงใจ หาญพาณิชย์ ผู้ก่อตั้งบริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน)[80]
- เศรษฐภัทร จีระกุลธนันต์ นักธุรกิจชาวไทย[81]
- 9 กุมภาพันธ์ –
- วิลเลียม บีเชอร์ นักข่าวและนักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2476)[82]
- รอแบร์ บาแดงแตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมฝรั่งเศส (เกิด 30 มีนาคม พ.ศ. 2471)[83]
- ดาโม ซูซูกิ นักดนตรีและนักร้องชาวญี่ปุ่น (เกิด 16 มกราคม พ.ศ. 2493)[84]
- จิมมี่ แวน อีตัน นักดนตรี นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (เกิด 23 ธันวาคม พ.ศ. 2480)[85]
- เฮอร์เบิร์ต วิกเว นายธนาคารและนักธุรกิจชาวไนจีเรีย (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2509)[86]
- 10 กุมภาพันธ์ –
- ดยุค วินเซนต์ นักเขียน โปรดิวเซอร์และผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ชาวอเมริกัน (เกิด 30 เมษายน พ.ศ. 2475)[87]
- วิลเลียม โพสต์ นักธุรกิจและนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน (เกิด 27 มิถุนายน พ.ศ. 2470)[88]
- บ็อบ มัวร์ นักธุรกิจและผู้ใจบุญชาวอเมริกัน (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472)[89]
- บ็อบ เอ็ดเวิร์ดส์ พิธีกรและนักข่าวชาวอเมริกัน (เกิด 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2490)[90]
- 11 กุมภาพันธ์ –
- แองเจลา เชา นักธุรกิจและผู้ใจบุญชาวอเมริกัน–จีน (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2516)[91]
- เคลวิน คิปทัม นักวิ่งชาวเคนยา (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2542)[92]
- 12 กุมภาพันธ์ –
- ฮิโรทาเกะ ยาโนะ นักธุรกิจชาวญี่ปุ่น–จีน (เกิด 19 เมษายน พ.ศ. 2486)[93]
- เดวิด บูลีย์ เชฟชาวอเมริกัน–ฝรั่งเศส (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2496)[94]
- ชัค มาวินนีย์ นักปืนชาวอเมริกัน (เกิด 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492)[95]
- 27 กุมภาพันธ์ –
- สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี (เทพ วงศ์ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคิโก) สมเด็จพระสังฆราช ราชอาณาจักรกัมพูชา (เกิดปี พ.ศ. 2475)[96]
มีนาคม
แก้- 1 มีนาคม – ไอริส แอพเฟล นักธุรกิจ นักออกแบบและนางแบบชาวอเมริกัน (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2464)[97]
- 2 มีนาคม –
- โซเรน ปาเป้ โพลเซ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเดนมาร์กและหัวหน้าพรรคประชาชนอนุรักษ์นิยมเดนมาร์ก (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2514)[98]
- ฮาวเวิร์ด ไฮแอตต์ นักวิจัย นักการศึกษาและนักรณรงค์ชาวอเมริกัน (เกิด 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2468)[99]
- มาร์ค ดอดสัน นักพากย์ชาวอเมริกัน (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503)[100]
- จอห์น โอคาฟอร์ นักแสดงชาวไนจีเรีย (เกิด 17 ตุลาคม พ.ศ. 2504)[101]
- 3 มีนาคม –
- คริส มอร์เทนเซ่น นักข่าวและคอลัมนิสต์ชาวอเมริกัน (เกิด 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494)[102]
- เอ็ด อ๊อต นักเบสบอลและโค้ชชาวอเมริกัน (เกิด 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2494)[103]
- 11 มีนาคม – พอล อเล็กซานเดอร์ ผู้ป่วยโปลิโอที่ใช้ชีวิตในปอดเหล็กนานที่สุดในโลกชาวอเมริกัน (เกิด 30 มกราคม พ.ศ. 2489)[104]
- 20 มีนาคม – วินัย ไกรบุตร นักแสดงชาวไทย (เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2512)[105]
เมษายน
แก้- 1 เมษายน –
- ลู คอนเตอร์ ผู้บัญชาการทหารเรือสหรัฐและผู้รอดชีวิตจากการโจมตีเพิร์ล ฮาร์เบอร์ (เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2464)[106]
- วอนเต้ เดวิส นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2531)[107]
- ซามี ไมเคิล นักเขียนชาวอิสราเอล–อิรัก (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2469)[108]
- โจ ฟลาเฮอร์ตี้ นักแสดงและนักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2484)[109]
- โธมัส ฟาร์ ทนายความชาวอเมริกัน (เกิด 24 ตุลาคม พ.ศ. 2497)[110]
- 2 เมษายน –
- ฮวน วิเซนเต้ เปเรซ คนงานก่อสร้างชาวเวเนซุเอลา (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2452)[111]
- จอห์น บาร์ธ นักเขียนและนักวิชาการชาวอเมริกัน (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2473)[112]
- แลร์รี ลุคชิโน ประธานาธิบดีบัลติมอร์ โอริโอลส์ ทนายความและผู้บริหารชาวอเมริกัน (เกิด 6 กันยายน พ.ศ. 2488)[113]
- มารีเซ่ คอนเต้ นักเขียนและนักวิจารณ์ชาวฝรั่งเศส (เกิด 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477)[114]
- จอห์น ซินแคลร์ นักเขียน กวีและนักกิจกรรมชาวอเมริกัน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2484)[115]
- คริสโตเฟอร์ ดูรัง นักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2492)[116]
- 3 เมษายน –
- 4 เมษายน –
- อบู มาเรีย อัล–กอห์ตานี นักรบชาวอิรัก (เกิด 1 มิถุนายน พ.ศ. 2519)[120]
- โธมัส กัมเบิลตัน นักกิจกรรมชาวอเมริกัน (เกิด 26 มกราคม พ.ศ. 2473)[121]
- 8 เมษายน – ปีเตอร์ ฮิกส์ นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษและผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2556 (เกิด 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2472)
พฤษภาคม
แก้- 1 พฤษภาคม – ริชาร์ด แทนดี้ นักดนตรีและนักคีย์บอร์ดชาวอังกฤษ (เกิด 26 มีนาคม พ.ศ. 2491)[122]
- 3 พฤษภาคม – ดิ๊ก รูตัน ทหารชาวอเมริกัน (เกิด 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2481)[123]
- 4 พฤษภาคม –
- จูโร คารา นักเขียน นักแสดงและนักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น (เกิด 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2483)[124]
- บ็อบ อเวลลินี นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2496)[125]
- แฟรงค์ สเตลล่า จิตรกร ประติมากร สถาปนิก และช่างพิมพ์ชาวอเมริกัน (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2479)[126]
- ดาเรียส มอร์ริส นักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 3 มกราคม พ.ศ. 2534)[127]
- 5 พฤษภาคม –
- โอบี เอเซห์ นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531)[128]
- เบอร์นาร์ด ฮิลล์ นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 17 ธันวาคม พ.ศ. 2487)[129]
- จินนี่ เอปเปอร์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 27 มกราคม พ.ศ. 2484)[130]
- อเล็กซานเดอร์ ปิลีเชนโก นักยกน้ำหนักชาวยูเครน (เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2537)[131]
- เซซาร์ ลุยส์ เมโนติ นักฟุตบอลและโค้ชชาวอาร์เจนตินา (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481)[132]
- 6 พฤษภาคม –
- โจ คอลลิเออร์ โค้ชชาวอเมริกัน (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2475)[133]
- 14 พฤษภาคม –
- พันเอกณรงค์ กิตติขจร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (เกิด 21 ตุลาคม พ.ศ. 2476)[134]
- เนติพร เสน่ห์สังคม นักกิจกรรมชาวไทย (เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2538)[135]
- 19 พฤษภาคม –
- จิม ออตโต นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 5 มกราคม พ.ศ. 2481)[136]
- คริสเตียน มาลังกา ผู้นำพรรคยูไนเต็ดคองโก (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2526)[137]
- เอบรอฮีม แรอีซี ประธานาธิบดีอิหร่าน (เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2503)[138]
มิถุนายน
แก้- 1 มิถุนายน – ติน อู นักกิจกรรมชาวพม่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมพม่าและผู้บัญชาการทหารสูงสุดพม่า (เกิด 11 มีนาคม พ.ศ. 2470)[139]
- 2 มิถุนายน –
- เดวิด เลวี รองนายกรัฐมนตรีอิสราเอล–โมร็อกโกและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอิสราเอล–โมร็อกโก (เกิด 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480)[140]
- ร็อบ เบอร์โรว์ นักรักบี้และนักกิจกรรมชาวอังกฤษ (เกิด 26 กันยายน พ.ศ. 2525)[141]
- ลาร์รี อัลเลน นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514)[142]
- เจนิส เพจ นักแสดงและนักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2465)[143]
- 3 มิถุนายน –
- ภารดา มาร์ควิส แร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน (เกิด 4 เมษายน พ.ศ. 2509)[144]
- บริจิตต์ เบียร์ไลน์ นายกรัฐมนตรีออสเตรีย ประธานศาลรัฐธรรมนูญออสเตรียและรองประธานศาลรัฐธรรมนูญออสเตรีย (เกิด 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492)[145]
- 6 มิถุนายน –
- พลเรือเอก นายแพทย์ หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ พระอนุวงศ์ไทย (ประสูติ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2472)
- 20 มิถุนายน –
- โฉมฉาย ฉัตรวิไล นักแสดงและนักร้องหญิงชาวไทย (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2493)
สิงหาคม
แก้- 3 สิงหาคม – เพลิน พรหมแดน ศิลปินเพลงลูกทุ่งชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยลูกทุ่ง) พ.ศ. 2555 (เกิด 12 มิถุนายน พ.ศ. 2482)[146]
- 20 สิงหาคม - ชรินทร์ นันทนาคร ศิลปินนักร้องเพลงลูกกรุง นักแสดง ผู้กำกับและผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2541 (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476) [147]
กันยายน
แก้- 13 กันยายน - ฉลอง ภักดีวิจิตร ผู้กำกับภาพยนตร์และผู้กำกับละครโทรทัศน์ชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี พ.ศ. 2556 (เกิด 18 มีนาคม พ.ศ. 2474)[148]
- 21 กันยายน - อรรคพันธ์ นะมาตร์ นักแสดงชาวไทย (เกิด 28 มกราคม พ.ศ. 2528)[149]
ตุลาคม
แก้- 7 ตุลาคม - ซิสซี ฮิวสตัน นักร้องชาวอเมริกัน มารดาของวิตนีย์ ฮิวสตัน (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2476)
- 16 ตุลาคม - เลียม เพย์น นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ สมาชิกวง วันไดเรกชัน (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2536)
พฤศจิกายน
แก้- 5 พฤศจิกายน - บรรเจิดศรี ยมาภัย นักแสดงชาวไทย (เกิด 2 มิถุนายน พ.ศ. 2467)
- 12 พฤศจิกายน -
- ซง แจ-ลิม นักแสดงชาวเกาหลีใต้ (เกิด 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528)
- อิษณัฐ ชลมูณี นายแบบ นักแสดง และพิธีกรชาวไทย (เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533)
วันสำคัญทางศาสนาและพิธีกรรม
แก้รางวัลโนเบล
แก้- สาขาเคมี – เดวิด เบเกอร์, เดมิส ฮัสซาบิส และจอห์น เอ็ม. จัมเปอร์[150]
- สาขาวรรณกรรม – ฮัน คัง[151]
- สาขาสันติภาพ – นิฮงฮิดังเกียว[152]
- สาขาฟิสิกส์ – จอห์น ฮอปฟิลด์ และเจฟฟรีย์ ฮินตัน[153]
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – วิกเตอร์ แอมบรอส และแกรี รัฟกัน[154]
- สาขาเศรษฐศาสตร์ – ดารอน อะเจมอลู, ไซมอน จอห์นสัน และเจมส์ เอ. โรบินสัน[155]
อ้างอิง
แก้- หว่า แซ่อึ้ง, เลี๊ยกไฮ้ แซ่โอ้ว, ปฏิทิน 100 ปี เทียบ 3 ภาษา, (ไม่ทราบปีที่พิมพ์).
- ↑ 1.0 1.1 "2024 is the biggest election year in history". The Economist. 2023-11-13. สืบค้นเมื่อ 2024-01-04.
- ↑ Eric Bazail-Eimil (2024-01-01). "The global elections Washington should be watching in 2024". Politico. สืบค้นเมื่อ 2024-01-04.
- ↑ "Transcript: What will work look like in 2024?". Financial Times. 2023-12-26. สืบค้นเมื่อ 2024-01-01.
- ↑ Siladitya Ray (2024-01-03). "2024 Is The Biggest Election Year In History—Here Are The Countries Going To The Polls This Year". Forbes. สืบค้นเมื่อ 2024-01-04.
- ↑ "Rishi Sunak confirms election will be next year, despite legal right to wait until January 2025". Politics.co.uk. December 18, 2023.
- ↑ Mitchell, Archie (19 December 2023). "Rishi Sunak rules out a 2025 general election: '2024 will be an election year'". The Independent. สืบค้นเมื่อ 19 December 2023.
- ↑ "In 2024, It's Election Year in 40 Countries". Bloomberg (ภาษาอังกฤษ). November 1, 2023. สืบค้นเมื่อ December 3, 2023.
- ↑ Sharma, Shweta (August 24, 2023). "Brics countries agree major expansion as six countries invited to join". The Independent (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ August 24, 2023.
- ↑ Ebel, Francesca (28 September 2023). "Defeated by force, Nagorno-Karabakh government declares it will dissolve". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 28 September 2023.
- ↑ "M 7.5 - 42 km NE of Anamizu, Japan". United States Geological Survey. 1 January 2024. สืบค้นเมื่อ 1 January 2024.
- ↑ "Noto jishin, shisha 220-nin ni jūtaku higai wa 1 man 1 sen-mune chō" 能登地震、死者220人に 住宅被害は1万1千棟超 [Noto Earthquake: 220 dead, over 11,000 homes damaged]. Sanyo News (ภาษาญี่ปุ่น). 13 January 2024. สืบค้นเมื่อ 13 January 2024.
- ↑ Jozuka, Mayumi Maruyama, Teele Rebane, Tamara Hardingham-Gill, Emiko (2024-01-02). "Japan Airlines jet bursts into flames after collision with earthquake relief plane at Tokyo Haneda airport". CNN (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "Death toll in Islamic State-claimed suicide blasts rises to 91". AP News (ภาษาอังกฤษ). 2024-01-06. สืบค้นเมื่อ 2024-01-10.
- ↑ "Taiwan elects Lai Ching-te, from incumbent pro-sovereignty party, as president". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). 2024-01-13. สืบค้นเมื่อ 2024-01-13.
- ↑ "Queen Margrethe II: Danish monarch announces abdication live on TV". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2023-12-31. สืบค้นเมื่อ 2023-12-31.
- ↑ ภูเขาไฟ "ไอซ์แลนด์" ปะทุรอบ 2 ธารลาวาทะลัก เสียชีวิต 1 คน
- ↑ "Japan makes contact with 'Moon Sniper' on lunar surface". BBC News. 19 January 2024. สืบค้นเมื่อ 19 January 2024.
- ↑ "Japan's 'Moon Sniper' made successful 'pin-point' landing, says space agency". France 24. 25 January 2024. สืบค้นเมื่อ 25 January 2024.
- ↑ "No survivors on plane Russia says was carrying 65 Ukrainian PoWs". BBC News. 24 January 2024. สืบค้นเมื่อ 24 January 2024.
- ↑ "Sultan Ibrahim takes oath as 17th Yang di-Pertuan Agong". The Star. 31 January 2024. สืบค้นเมื่อ 31 January 2024.
- ↑ Singh, Maanvi; Belam, Martin; Singh (now), Maanvi; Belam (earlier), Martin (2024-02-22). "Odysseus spacecraft successfully lands on the moon – live updates". the Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 2024-02-22.
- ↑ "Sweden officially joins NATO". NATO. 7 March 2024. สืบค้นเมื่อ 7 March 2024.
- ↑ "Sweden finally joins Nato after nearly two-year wait". The Guardian. 7 March 2024. สืบค้นเมื่อ 7 March 2024.
- ↑ "World's first major act to regulate AI passed by European lawmakers". CNBC. 14 March 2024. สืบค้นเมื่อ 13 March 2024.
- ↑ "Putin wins Russia election in landslide with no serious competition". Reuters. 18 March 2024. สืบค้นเมื่อ 18 March 2024.
- ↑ "Death toll from concert hall attack in Russia's Moscow region rises to 144". AA. March 29, 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 March 2024. สืบค้นเมื่อ 29 March 2024.
- ↑ "Here's what you should know about the Key Bridge collapse". AP News (ภาษาอังกฤษ). 2024-03-28. สืบค้นเมื่อ 2024-03-27.
- ↑ "Bulgaria and Romania join the Schengen area". European Commission. 30 March 2024. สืบค้นเมื่อ 30 March 2024.
- ↑ “ฮวาเหลียน” สวิตเซอร์แลนด์ไต้หวัน เมืองท่องเที่ยวดังที่โดนแผ่นดินไหวบ่อย. MGR Online. สืบค้นเมื่อ 2024-04-03
- ↑ Where & When (ภาษาอังกฤษ), NASA, 2024-04-06, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 8, 2024, สืบค้นเมื่อ April 8, 2024
- ↑ อิหร่านโจมตีอิสราเอล: เรารู้อะไรบ้าง ?
- ↑ พายุหนักพัดถล่มอ่าวเปอร์เซีย ยอดผู้เสียชีวิตในโอมานเพิ่มเป็น 18 ราย. ไทยโพสต์. สืบค้นเมื่อ 2024-04-16
- ↑ ฝรั่งเศสประกาศภาวะฉุกเฉินในนิวแคลิโดเนีย หลังเกิดจลาจลรุนแรงสุดในรอบ 40 ปี
- ↑ แผ่นดินไหวญี่ปุ่นขนาด 5.9 เขย่าซ้ำจุดเดิมเมื่อช่วงปีใหม่ ไม่มีการแจ้งเตือนสึนามิ. แนวหน้า. สืบค้นเมื่อ 2024-06-03.
- ↑ ยูเนสโกประกาศ "ภูพระบาท" เป็นมรดกโลก. Thai PBS. สืบค้นเมื่อ 2024-07-27.
- ↑ ญี่ปุ่นแผ่นดินไหว 7.1 เตือน "คนไทย" ทำตามคำสั่งอย่างเคร่งครัด. Thai PBS. สืบค้นเมื่อ 2024-08-08
- ↑ ญี่ปุ่นยกเลิกเตือนภัยแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ หลังครบ 1 สัปดาห์ แผ่นดินไหวขนาด7.1. จส•100. สืบค้นเมื่อ 2024-08-15
- ↑ Lunar Eclipses: 2001 to 2100 เก็บถาวร 1999-02-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Fred Espenak/Jean Meeus, NASA/GSFC (อังกฤษ)
- ↑ Strickland, Ashley (2024-10-14). "NASA launches mission to investigate a potentially habitable ocean world". CNN (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "Elon Musk's Starship rocket achieves record-breaking feat". www.bbc.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช).
- ↑ Basdeo Panday, first person of Indian descent to lead Trinidad and Tobago, dies at 90
- ↑ isranews (2024-01-02). "ศ.คุณหญิง นงเยาว์ ชัยเสรี อดีตอธิการบดีมธ. ถึงแก่อนิจกรรม สิริอายุ 88 ปี". สำนักข่าวอิศรา.
- ↑ "เอฟซีอาลัย 'ต๊ะ ยมทูต' เจ้าของวลี เซ็ตหย่อ 2 ห่อใส่ไข่ เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 1 February 2024. สืบค้นเมื่อ 1 February 2024.
- ↑ "Guillermo del Toro's Pinocchio co-director Mark Gustafson dies aged 64". The Guardian. 1 February 2024. สืบค้นเมื่อ 1 February 2024.
- ↑ "Carl Weathers, Actor from Rocky, Predator and Mandalorian, Dead at 76: 'An Exceptional Human Being'". People. 1 February 2024. สืบค้นเมื่อ 1 February 2024.
- ↑ "Gregory Charles Rivers, 58-year-old Australian actor who starred in Hong Kong TV dramas, found dead at his home". South China Morning Post. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Ian Lavender, the last serviving star of British sitcom 'Dad's Army,' has died". AP News. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Wayne Kramer, co-founder of revolutionary rock band the MC5, dead at 75". AP News. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Jonnie Irwin Dead at 50 from Lung Cancer: 'He Fought Bravely'". People. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Don Murray, Oscar nominee who once played opposite Marilyn Monroe, dies at 94: Reports". USA Today. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ ""Diva" film soprano Wilhelmenia Wiggins Fernandez Smith has died at 75". AP News. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Mike Gill, man shot in downtown D.C. in carjacking rampage, dies". Washington Post. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Former Dallas Cowboy Tony Hutson Dead at 49: 'Gone Too Soon'". People. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Aston Barrett, bassist for Bob Marley & The Wailers, dies at 77". USA Today. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Singapore banking tycoon Wee Cho Yaw, former UOB chairman, dies at 95". South China Morning Post. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Prince Vittorio Emanuele of Savoy, son of Italy's last king, dies aged 86". AP News. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Steve Ostrow, who founded famed NYC bathhouse the Continental Baths, dies at 91". AP News. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Namibia president and anti-apartheid activist Hage Geingob dies. He pushed for Africa on world stage". AP News. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Kurt Hamrin, Sweden great who was the last living player from the 1958 World Cup final, dies at 89". AP News. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Barry John, Welsh rugby great, dies at 79. Known as 'The King' because of his flyhalf wizardry". AP News. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Lowitja O'Donoghue, celebrated campaigner for Aboriginal Australians, dies aged 91". The Guardian. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Brooke Ellison, resilient disability rights activist, dies at 45". Washington Post. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ แม่แบบ:Cบite web
- ↑ "Toby Keith, country singer-songwriter, dies at 62 after stomach cancer diagnosis". AP News. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "Only Fools and Horses actor Michael Jayston dies after 'short illness'". Sky News. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ ""เริงชัย ประภาษานนท์" ศิลปินแห่งชาติ 2562 นักเขียนผลงานอินทรีแดง เสียชีวิต วัย 94 ปี". ไทยพีบีเอส. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "สิ้น พระราชจินดานายก มหาเถระเมืองลำปาง ละสังขารอย่างสงบ สิริอายุ 87 ปี". มติชนออนไลน์. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "วงการมวยไทยสิ้น ฉลามเพชร ศรพิสัย เสียชีวิตก่อนขึ้นชกไม่กี่วัน". มติชนออนไลน์. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "Former Dutch Prime Minister and Wife Die 'Together and Hand in Hand' at 93". People. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "Former Dutch Prime Minister Dries van Agt and his wife die 'hand in hand' by euthanasia at age 93". AP News. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "John Bruton, Irish leader who played a key role in Northern Ireland's peace process, dies at 76". AP News. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Former Chilean President Sebastián Piñera dies in a helicopter crach. He was 74". AP News. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Blues legend, Gary, Indiana native Donald Kinsey has died". Chicago. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Anthony Epstein, pathologist behind Epstein-Barr virus find, dies at 102". Washington Post. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Cecilia Gentili, Trans Activist and Pose Actress, Dies at 52: 'Rest in Power and Accomplishment'". People. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Acclaimed Japanese conductor Seiji Ozawa, who led the Boston Symphony Orchestra, dies at age 88". AP News. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Alfred Grosser, Champion of French-German Reconciliation, Dies at 99". The New York Times. 7 February 2024. สืบค้นเมื่อ 7 February 2024.
- ↑ "Mojo Nixon, radio host known for satirical hit 'Elvis is Everywhere,' dies at 66". USA Today. 7 February 2024. สืบค้นเมื่อ 7 February 2024.
- ↑ "Henry Fambrough, Last Surviving Original Member of the Spinners, Dead at 85". People. 7 February 2024. สืบค้นเมื่อ 7 February 2024.
- ↑ "เพียงใจ หาญพาณิชย์ ผู้ก่อตั้ง แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เสียชีวิต อายุ 100 ปี". มติชนออนไลน์. February 8, 2024. สืบค้นเมื่อ February 8, 2024.
- ↑ "อาลัย 'เศรษฐภัทร จีระกุลธนันต์' นักธุรกิจใจบุญเมืองโคราช สิ้นใจอย่างสงบ". มติชนออนไลน์. February 8, 2024. สืบค้นเมื่อ February 8, 2024.
- ↑ "William Beecher, Who Revealed Secret Cambodia Bombing, Dies at 90". The New York Times. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Robert Badinter, who led France to end the death penalty and fought Holocaust denial, has died at 95". AP News. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Krautrock singer Damo Suzuki dies aged 74". The Guardian. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Jimmy Van Eaton, an early rock 'n' roll drummer who played at Sun Records, dies at 86". AP News. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Nigerian Bank CEO, Wife and Son Among 6 Killed in California Helicopter Crash: 'Overwhelming Tragedy'". People. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Duke Vincent, 'Dynasty' and 'Beverly Hills 90210' Producer, Dead at 91". People. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "William Post, Credited with Inventing the Pop-Tart, Dead at 96". People. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "Bob's Red Mill Founder Bob Moore Dead at 94: 'We Will Truly Miss His Energy'". People. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "Longtime NPR 'Morning Edition' host Bob Edwards dies at age 76". AP News. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "Angela Chao, Business Executive and Sister-in-Law of Mitch McConnell, Dead in Car Accident at Age 50". People. 11 February 2024. สืบค้นเมื่อ 11 February 2024.
- ↑ "Marathon World Record Holder Kelvin Kiptum Dead at 24 After Car Accident in Kenya: 'Devastating Loss'". People. 11 February 2024. สืบค้นเมื่อ 11 February 2024.
- ↑ "Founder of Japanese dollar-store chain Daiso dies; he was 80". AP News. 12 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
- ↑ "David Bouley, New York City chef known for his idiosyncratic approach to fine dining, dies at 70". AP News. 12 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
- ↑ "Chuck Mawhinney, deadliest sniper in US Marine Corps history, dies at 74". FOX News. 12 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
- ↑ https://www.thairath.co.th/news/local/2766287
- ↑ "Iris Apfel, fashion icon who garnered social media fame in her later years, dies at 102". USA Today. 1 March 2024. สืบค้นเมื่อ 1 March 2024.
- ↑ "Danish Conservative People's Party leader Soren Pape Poulsen dies, party says". Reuters. 2 March 2024. สืบค้นเมื่อ 2 March 2024.
- ↑ "Howard Hiatt, champion of global public health, dies at 98". Washington Post. 2 March 2024. สืบค้นเมื่อ 2 March 2024.
- ↑ "Mark Dodson: Voice actor for 'Star Wars,' and 'Gremlins' dead at 64". New York Post. 2 March 2024. สืบค้นเมื่อ 2 March 2024.
- ↑ "Mr Ibu: Hollywood actor John Okafor dies in Lagos". BBC News. 2 March 2024. สืบค้นเมื่อ 2 March 2024.
- ↑ "Chris Mortensen, an award-winning ESPN reporter who covered the NFL, dies at 72". AP News. 3 March 2024. สืบค้นเมื่อ 3 March 2024.
- ↑ "Ed Ott, World Series-winning catcher with Pirates, dead at 72". New York Post. 3 March 2024. สืบค้นเมื่อ 3 March 2024.
- ↑ "Paul Alexander, polio survivor in iron lung for over 70 years, dies at 78 after Covid diagnosis" (ภาษาอังกฤษ). NBC News. March 13, 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 13, 2024. สืบค้นเมื่อ March 13, 2024.
- ↑ ""วินัย ไกรบุตร" นักแสดงชื่อดัง เสียชีวิตแล้ว". Thai PBS. ไทยพีบีเอส. 20 March 2024. สืบค้นเมื่อ 7 November 2024.
- ↑ "Pearl Harbor Survivor Lou Conter, Last USS Arizona Crew Member, Dead at 102". People. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "Former NFL Star Vontae David Found Dead at 35". People. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "Sami Michael, Iraqi-born and award-winning Israeli author and activist, dies at 97". AP News. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "'SCTV' star and comedian Joe Flaherty has died at 82 after an illness, his daughter says". AP News. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "North Carolina redistricting attorney who fell short in federal confirmation fight dies at 69". AP News. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "World's Oldest Man Dies Weeks Before His 115th Birthday". People. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "John Barth, innovative postmodernist novelist, dies at 93". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "Larry Lucchino, feisty force behind retro ballpark revolution and curse-busting Red Sox, dies at 78". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "Maryse Conde, prolific 'grande dame' of Caribbean literature, dies at age 90". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "John Sinclair, a marijuana activist who was immortalized in a John Lennon song, dies at 82". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "Playwright Christopher Durang, a Tony winner for 'Vanya and Sonia and Masha and Spike,' dies at 75". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "Italian jockey Stefano Cherchi, who rode more than 100 winners in UK, dies following Canberra fall". AP News. 3 April 2024. สืบค้นเมื่อ 3 April 2024.
- ↑ "Adrian Schiller, Victoria and The Last Kingdom Actor, Dead at 60". People. 3 April 2024. สืบค้นเมื่อ 3 April 2024.
- ↑ "Olympic Soccer Player Luke Fleurs Shot Dead at 24 in 'Hijacking Incident'". People. 3 April 2024. สืบค้นเมื่อ 3 April 2024.
- ↑ "Bombing kills co-founder of Syria's main al-Qaida-linked group, once known as Nusra Front". AP News. 4 April 2024. สืบค้นเมื่อ 4 April 2024.
- ↑ "Thomas Gumbleton, Detroit Catholic bishop who opposed war and promoted social justice, dies at 94". AP News. 4 April 2024. สืบค้นเมื่อ 4 April 2024.
- ↑ "ELO Keyboardist Richard Tandy Dead at 76". People. 1 May 2024. สืบค้นเมื่อ 1 May 2024.
- ↑ "Dick Rutan, co-pilot of historic round-the-world fight, dies at 85". AP News. 3 May 2024. สืบค้นเมื่อ 3 May 2024.
- ↑ "Juro Kara, rebel playwright behind Japan's modern underground theater, dies at 84". AP News. 4 May 2024. สืบค้นเมื่อ 4 May 2024.
- ↑ "Bob Avellini, quarterback who teamed with Walter Payton to lead Bears to 1977 playoffs, dies at 70". AP News. 4 May 2024. สืบค้นเมื่อ 4 May 2024.
- ↑ "Frank Stella, artist renowned for blurring the lines between painting and sculpture, dies at 87". AP News. 4 May 2024. สืบค้นเมื่อ 4 May 2024.
- ↑ "Former NBA Player Darius Morris Dead at 33". People. 4 May 2024. สืบค้นเมื่อ 4 May 2024.
- ↑ "Former Michigan Football Linebacker Obi Ezeh Dead at 36: 'You Will Always Be in My Heart'". People. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "Bernard Hill, Who Starred as the Captain in Titanic Dead at 79: 'Blazed a Trail Across the Screen'". People. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "Jeannie Epper, Iconic Stuntwoman Who Doubled for Lynda Carter on Wonder Woman, Dead at 83". People. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "Ukrainian Olympic Weightlifter Dead at 30 While Fighting on Frontlines of Russia-Ukraine War". People. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "César Luis Menotti, coach who led Argentina to its first World Cup title in 1978, dies at 85". AP News. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "Joe Collier, former Bills head coach and architect of Broncos' 'Orange Crush' defense, dies at 91". AP News. 6 May 2024. สืบค้นเมื่อ 6 May 2024.
- ↑ ""พันเอกณรงค์ กิตติขจร" บุตรชาย "จอมพลถนอม" เสียชีวิตแล้ว". พีพีทีวี. 14 May 2024. สืบค้นเมื่อ 14 May 2024.
- ↑ "A monarchy reform activist in Thailand dies in detention after a monthslong hunger strike". AP News. 14 May 2024. สืบค้นเมื่อ 14 May 2024.
- ↑ "Jim Otto, Oakland Raiders Football Center and NFL Hall of Famer, Dead at 86". People. 19 May 2024. สืบค้นเมื่อ 19 May 2024.
- ↑ "Americans in alleged Congo coup plot formed an unlikely band". AP News. 19 May 2024. สืบค้นเมื่อ 19 May 2024.
- ↑ "Iranian President Ebrahim Raisi, supreme leader's protege, dies at 63 in helicopter crash". AP News. 19 May 2024. สืบค้นเมื่อ 19 May 2024.
- ↑ "Tin Oo, a close ally of Myanmar's Suu Kyi and co-founder of her pro-democracy party, dies at 97". AP News. 1 June 2024. สืบค้นเมื่อ 1 June 2024.
- ↑ "David Levy, Moroccan-born ex-foreign minister of Israel, dies at 86". AP News. 2 June 2024. สืบค้นเมื่อ 2 June 2024.
- ↑ "Rugby star and ALS campaigner Rob Burrow dies at age 41". AP News. 2 June 2024. สืบค้นเมื่อ 2 June 2024.
- ↑ "Larry Allen, Retired Dallas Cowboys Hall of Fame Player, Dead at 52 While on Vacation in Mexico with Family". People. 2 June 2024. สืบค้นเมื่อ 2 June 2024.
- ↑ "Janis Paige, Hollywood and Broadway Star Who Worked with Fred Astaire and Bob Hope, Dead at 101". People. 2 June 2024. สืบค้นเมื่อ 2 June 2024.
- ↑ "2 Live Crew Rapper Brother Marquis Dead at 58". People. 3 June 2024. สืบค้นเมื่อ 3 June 2024.
- ↑ "Brigitte Bierlein, Austria's first woman chancellor, dies at 74". AP News. 3 June 2024. สืบค้นเมื่อ 3 June 2024.
- ↑ "วงการเพลงเศร้า สิ้น เพลิน พรหมแดน ศิลปินแห่งชาติ ราชาเพลงพูด สิริอายุ 85 ปี". มติชน. 3 สิงหาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2024.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "สิ้น "ชรินทร์ นันทนาคร" ศิลปินแห่งชาติเจ้าของเพลงหยาดเพชร". ทีนิวส์. 20 สิงหาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2024.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ วงการบันเทิงสูญเสีย "ฉลอง ภักดีวิจิตร" ผู้กำกับตำนานบู๊เมืองไทย
- ↑ ""อ๋อม อรรคพันธ์" พระเอกชื่อดังเสียชีวิตแล้ว หลังป่วยด้วยโรคมะเร็ง". สนุก.คอม. 22 กันยายน 2024. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2024.
- ↑ "The Nobel Prize in Chemistry 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 9, 2024.
- ↑ "The Nobel Prize in Literature 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 10, 2024.
- ↑ "The Nobel Peace Prize 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 11, 2024.
- ↑ "The Nobel Prize in Physics 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 8, 2024.
- ↑ "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 7, 2024.
- ↑ "The Sveriges Riksbank Prize in Economic Sciences in Memory of Alfred Nobel 2024", The Nobel Prize, สืบค้นเมื่อ October 14, 2024