สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี
จังหวัดลพบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดลพบุรี | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 5 |
คะแนนเสียง | 135,623 (เพื่อไทย) 125,807 (ภูมิใจไทย) 93,051 (ก้าวไกล) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | เพื่อไทย (2) ภูมิใจไทย (2) ประชาชน(1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดลพบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายสว่าง ศรีวิโรจน์[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 12 สมัย ได้แก่ นายนิยม วรปัญญา
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดลพบุรี คือ นางผ่องศรี ธาราภูมิ (จากการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2550)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- วรปัญญา (4 คน) ได้แก่ นายนิยม วรปัญญา, นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา นายพหล วรปัญญา และนายวรวงศ์ วรปัญญา
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล และอำเภอบ้านหมี่ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม และอำเภอท่าวุ้ง |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม และอำเภอท่าวุ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอบ้านหมี่ และกิ่งอำเภอท่าหลวง |
||
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม และอำเภอท่าวุ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอบ้านหมี่, กิ่งอำเภอท่าหลวง และกิ่งอำเภอสระโบสถ์ |
||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, กิ่งอำเภอท่าหลวง และกิ่งอำเภอสระโบสถ์ |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2531 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอสระโบสถ์, กิ่งอำเภอท่าหลวง และกิ่งอำเภอโคกเจริญ |
||
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอท่าหลวง, กิ่งอำเภอโคกเจริญ, กิ่งอำเภอหนองม่วง และกิ่งอำเภอลำสนธิ |
||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอท่าหลวง, อำเภอโคกเจริญ, กิ่งอำเภอหนองม่วง และกิ่งอำเภอลำสนธิ |
||
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี (ยกเว้นตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลเขาสามยอด และตำบลบางขันหมาก) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา และตำบลเขาสามยอด) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านหมี่, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลบางขันหมาก) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอหนองม่วง, อำเภอสระโบสถ์ และอำเภอโคกเจริญ (เฉพาะตำบลโคกเจริญและตำบลโคกแสมสาร) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชัยบาดาล, อำเภอท่าหลวง, อำเภอลำสนธิ และอำเภอโคกเจริญ (ยกเว้นตำบลโคกเจริญและตำบลโคกแสมสาร) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี, อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอบ้านหมี่ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอท่าหลวง, อำเภอโคกเจริญ, อำเภอหนองม่วง และอำเภอลำสนธิ |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลถนนใหญ่ ตำบลกกโก ตำบลป่าตาล และตำบลท่าแค) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านหมี่, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอเมืองลพบุรี (ยกเว้นตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลถนนใหญ่ ตำบลกกโก ตำบลป่าตาล และตำบลท่าแค) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโคกสำโรง, อำเภอหนองม่วง, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอโคกเจริญ และอำเภอชัยบาดาล [(เฉพาะตำบลศิลาทิพย์ ตำบลม่วงค่อม ตำบลมะกอกหวาน ตำบลบ้านใหม่สามัคคี ตำบลเขาแหลม และตำบลชัยนารายณ์ (นอกเขตเทศบาลตำบลลำนารายณ์)] · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอท่าหลวง, อำเภอลำสนธิ และอำเภอชัยบาดาล [(ยกเว้นตำบลศิลาทิพย์ ตำบลม่วงค่อม ตำบลมะกอกหวาน ตำบลบ้านใหม่สามัคคี ตำบลเขาแหลม และตำบลชัยนารายณ์ (นอกเขตเทศบาลตำบลลำนารายณ์)] |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลถนนใหญ่ ตำบลกกโก ตำบลป่าตาล และตำบลท่าแค) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านหมี่, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอเมืองลพบุรี (ยกเว้นตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลเขาพระงาม ตำบลท่าศาลา ตำบลโคกตูม ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลถนนใหญ่ ตำบลกกโก ตำบลป่าตาล และตำบลท่าแค) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองม่วง, อำเภอโคกสำโรง และอำเภอพัฒนานิคม · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโคกเจริญ, อำเภอสระโบสถ์, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอท่าหลวง และอำเภอลำสนธิ |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลท่าหิน ตำบลทะเลชุบศร ตำบลเขาสามยอด ตำบลถนนใหญ่ ตำบลท่าแค ตำบลโคกกะเทียม ตำบลบางขันหมาก ตำบลพรหมมาสตร์ ตำบลโพธิ์เก้าต้น ตำบลโคกลำพาน ตำบลป่าตาล และตำบลกกโก) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพัฒนานิคม, อำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลท่าศาลา ตำบลนิคมสร้างตนเอง ตำบลโคกตูม และตำบลเขาพระงาม) และอำเภอโคกสำโรง (เฉพาะตำบลห้วยโป่งและตำบลหลุมข้าว) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านหมี่, อำเภอท่าวุ้ง และอำเภอเมืองลพบุรี (เฉพาะตำบลโพธิ์ตรุ ตำบลท้ายตลาด ตำบลตะลุง ตำบลดอนโพธิ์ ตำบลโก่งธนู ตำบลงิ้วราย ตำบลสี่คลอง และตำบลบ้านข่อย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโคกเจริญ, อำเภอหนองม่วง, อำเภอสระโบสถ์ และอำเภอโคกสำโรง (ยกเว้นตำบลห้วยโป่งและตำบลหลุมข้าว) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชัยบาดาล, อำเภอท่าหลวง และอำเภอลำสนธิ |
5 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายสว่าง ศรีวิโรจน์ |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายแฟ้ม วรพิทยุต |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | นายสำอางค์ ศรีสวัสดิ์ (เสียชีวิต) |
นายประเสริฐ วาสิกสิน (แทนนายสำอางค์) | ||
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายกฤตย์ สงวนวงศ์ |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | นายบุญช่วย มาประเสริฐ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายบุญมี ปาร์มวงศ์ |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | นายศิริ ภักดีวงศ์ |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
แก้- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | พลตรี เฉลิม พงษ์สวัสดิ์ | นายบุญช่วย มาประเสริฐ |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | พลตรี เฉลิม พงษ์สวัสดิ์ | นายบุญมี ปาร์มวงศ์ |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
แก้ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายบุญเจริญ ปิยะสุวรรณ์ |
2 | นายเสรี แพทย์ศรีวงษ์ |
3 | นายบุญช่วย มาประเสริฐ |
ชุดที่ 11–14; พ.ศ. 2518–2526
แก้- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคพลังใหม่
- พรรคกิจสังคม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายนิยม วรปัญญา | นายบุญมี ปาร์มวงศ์ | นายประเสริฐ สายพิมพ์ | นายเฉลิมชัย ทองตันไตรย์ (เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นายนิยม วรปัญญา | นายธีระ ปิยะสุวรรณ์ | นายเฉลิมชัย เล็กชม | นายนิกร นนทวงศ์ |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายสวัสดิ์ วงศ์กวี | นายบัญญัติ วงษ์ประยูร | นายธีระ ปิยะสุวรรณ์ | นายโอภาส พลศิลป |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายสวัสดิ์ วงศ์กวี | นายกมล จิระพันธุ์วาณิช | นายนิยม วรปัญญา |
ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539
แก้- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคชาติไทย
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคนำไทย
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | |||
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | พลเอก เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ | นายกมล จิระพันธุ์วาณิช | พลโท เอนก บุนยถี | นายนิยม วรปัญญา | นายโอภาส พลศิลป |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายเชาวน์วัศ สุดลาภา | ||||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายรัศมี วรรณิสสร | นายสวัสดิ์ วงศ์กวี | นายเชาวน์วัศ สุดลาภา | ||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายนิพนธ์ ธาราภูมิ | นายบุญทรง วงศ์กวี | |||
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | นายนิพนธ์ ธาราภูมิ | นายอุบลศักดิ์ บัวหลวงงาม | พลตำรวจเอก บุญชู วังกานนท์ | ||
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | นายนิพนธ์ ธาราภูมิ | นายกมล จิระพันธุ์วาณิช | นายอำนวย คลังผา |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล | |
2 | นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา | |
3 | นายกมล จิระพันธุ์วาณิช | นายสุชาติ ลายน้ำเงิน |
4 | นายอำนวย คลังผา | |
5 | นายนิยม วรปัญญา |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายกมล จิระพันธุ์วาณิช (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นางสาวมัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช (แทนนายกมล) |
นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ | ||
นายสุชาติ ลายน้ำเงิน | ||
2 | นายอำนวย คลังผา | |
นายนิยม วรปัญญา |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562
แก้เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นายพิชัย เกียรติวินัยสกุล | นายประทวน สุทธิอำนวยเดช (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
2 | นางสาวมัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช | |
3 | นายอำนวย คลังผา | นายอุบลศักดิ์ บัวหลวงงาม |
4 | นายเกียรติ เหลืองขจรวิทย์ | นายเกียรติ เหลืองขจรวิทย์ |
นายพหล วรปัญญา (แทนนายเกียรติ) |
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
แก้เขต | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายสิทธิชัย หล่อประสงค์สุข |
2 | นายสาธิต ทวีผล |
3 | นางสาวมัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช |
4 | นายนรินทร์ คลังผา |
5 | นายวรวงศ์ วรปัญญา |
รูปภาพ
แก้-
นายนิยม วรปัญญา
-
พลเอก เทียนชัย ศิริสัมพันธ์
-
นายเชาวน์วัศ สุดลาภา
-
นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล
-
นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดลพบุรี เก็บถาวร 2011-08-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน