สงกรานต์ เป็นคำมาจากภาษาสันสกฤต สํกฺรานฺติ (saṅkrānti) ใช้เรียกวันปีใหม่ที่เฉลิมฉลองในประเทศไทย, ลาว, กัมพูชา, พม่า, ศรีลังกา และบางส่วนของอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ, เวียดนาม และ สิบสองปันนาในประเทศจีน[1][2] สงกรานต์เริ่มต้นเมื่อดวงอาทิตย์เข้าสู่ราศีเมษ สัญลักษณ์ดาราศาสตร์แรกในจักรราศีตามดาราศาสตร์ดาวฤกษ์[3]

สงกรานต์
ชาวลาวกำลังสรงน้ำพระในปีใหม่ลาว
ชื่อทางการตามประเทศ
ได้แก่
จัดขึ้นโดยชาวพม่า, กัมพูชา, ได, ลาว, ไทย, บังกลาเทศ, ศรีลังกา, ไทดำ และอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน
ความสำคัญวันขึ้นปีใหม่
วันที่โดยทั่วไป 13–14 เมษายน
ความถี่รายปี

สงกรานต์ในท้องถิ่นต่าง ๆ ได้แก่ ปีใหม่กัมพูชา, ปีใหม่ลาว, ปีใหม่สิงหลในศรีลังกา, สงกรานต์ในประเทศไทย, ตะจานในพม่า, สังเกนในรัฐอรุณาจัลประเทศและอัสสัมของอินเดีย, เทศกาลพรมน้ำในสิบสองปันนาและบางส่วนของเวียดนาม[4][5]

อ้างอิง แก้ไข

  1. "制造传统 关于傣族泼水节及其相关新年话语的研究". Open Times. February 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-14. สืบค้นเมื่อ 17 January 2017.
  2. "Donald K. Swearer The Buddhist World of Southeast Asia" (PDF). Ahandfulofleaves.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 7 January 2019.
  3. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-08. สืบค้นเมื่อ 2017-01-16.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  4. Planet, Lonely (21 March 2011). "The Dai water-splashing festival: where China meets Southeast Asia". Lonely Planet. สืบค้นเมื่อ 7 January 2019.
  5. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-09. สืบค้นเมื่อ 2016-06-05.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)