สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร
จังหวัดยโสธร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดยโสธร | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 3 |
คะแนนเสียง | 89,209 (ไทยสร้างไทย) 83,450 (เพื่อไทย) 40,104 (ภูมิใจไทย) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2518 |
ที่นั่ง | เพื่อไทย (1) ภูมิใจไทย (1) ว่าง (1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยขณะนั้นยโสธรยังเป็นเพียงอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี
ปี พ.ศ. 2515 ยโสธรยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของจังหวัดเป็นครั้งแรก (ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2518) โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ นายอุดร ทองน้อย, นายสุทิน ใจจิต และนายประยงค์ มูลสาร
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 6 สมัย ได้แก่ นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดยโสธร คือ นางอุบล บุญญชโลธร (จากการเลือกตั้ง มีนาคม พ.ศ. 2535)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- เดชเสน (2 คน) ได้แก่ สิบตำรวจโท ผอง เดชเสน และนายวิสันต์ เดชเสน
- ศรีลาภ (2 คน) ได้แก่ นายรัชชัย ศรีลาภ และนางสาวณิรัฐกานต์ ศรีลาภ
- พันธ์สายเชื้อ (2 คน) ได้แก่ นายเรืองวิทย์ พันธ์สายเชื้อ และนายปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ
- ศรีชนะ (2 คน) ได้แก่นายพิกิฎ ศรีชนะ และนายธนพัฒน์ ศรีชนะ
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2518 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 3 คน (เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยโสธร, อำเภอคำเขื่อนแก้ว, อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอค้อวัง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเลิงนกทา, อำเภอกุดชุม, อำเภอทรายมูล, อำเภอป่าติ้ว และกิ่งอำเภอไทยเจริญ |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยโสธร และอำเภอคำเขื่อนแก้ว (เฉพาะตำบลย่อ) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอค้อวัง, อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอคำเขื่อนแก้ว (ยกเว้นตำบลย่อ ตำบลโพนทัน ตำบลดงเจริญ ตำบลทุ่งมน และตำบลเหล่าไฮ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอป่าติ้ว, อำเภอทรายมูล, อำเภอกุดชุม (ยกเว้นตำบลหนองแหน และตำบลโพนงาม) และอำเภอคำเขื่อนแก้ว (เฉพาะตำบลเหล่าไฮ ตำบลทุ่งมน ตำบลดงเจริญ และตำบลโพนทัน) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเลิงนกทา, อำเภอไทยเจริญ และอำเภอกุดชุม (เฉพาะตำบลหนองแหน และตำบลโพนงาม) |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยโสธร, อำเภอคำเขื่อนแก้ว, อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอค้อวัง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเลิงนกทา, อำเภอกุดชุม, อำเภอทรายมูล, อำเภอป่าติ้ว และอำเภอไทยเจริญ |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยโสธรและอำเภอทรายมูล · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอค้อวัง, อำเภอมหาชนะชัย, อำเภอคำเขื่อนแก้ว และอำเภอป่าติ้ว · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกุดชุม, อำเภอไทยเจริญ และอำเภอเลิงนกทา |
3 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองยโสธร, อำเภอทรายมูล, อำเภอป่าติ้ว (เฉพาะตำบลกระจายและตำบลศรีฐาน) และอำเภอคำเขื่อนแก้ว (เฉพาะตำบลทุ่งมน) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอค้อวัง, อำเภอมหาชนะชัย, อำเภอคำเขื่อนแก้ว (ยกเว้นตำบลทุ่งมน), อำเภอป่าติ้ว (ยกเว้นตำบลกระจายและตำบลศรีฐาน) และอำเภอไทยเจริญ (เฉพาะตำบลน้ำคำและตำบลคำไผ่) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกุดชุม, อำเภอเลิงนกทา และอำเภอไทยเจริญ (ยกเว้นตำบลน้ำคำและตำบลคำไผ่) |
3 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535
แก้- พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคกิจสังคม
- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
- พรรคชาติไทย
- พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
- พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
- พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531) → พรรคเอกภาพ
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคพลังธรรม
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายอุดร ทองน้อย | นายสุทิน ใจจิต | นายประยงค์ มูลสาร |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | สิบตำรวจโท ผอง เดชเสน | นายสุทิน ใจจิต | นายสุชาติ สกุลบัวพันธ์ |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายสำรวย จันทนป | นายวิญญู ยุพฤทธิ์ | นายสาตร ไกรศรีวรรธณะ |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายเรืองวิทย์ พันธ์สายเชื้อ | นายสุทิน ใจจิต | สิบตำรวจโท ผอง เดชเสน (เสียชีวิต) |
นายพีรพันธุ์ พาลุสุข (แทนสิบตำรวจโท ผอง) | ||||
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายวิสันต์ เดชเสน (ถูกให้ออกจากพรรค) |
นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร | นายพีรพันธุ์ พาลุสุข |
นายวิสันต์ เดชเสน (ได้รับเลือกตั้งใหม่) | ||||
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายวิสันต์ เดชเสน | นายอุดร ทองน้อย | นายพีรพันธุ์ พาลุสุข |
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร | นางอุบล บุญญชโลธร | |
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายสมบูรณ์ ทองบุราณ | นายรัชชัย ศรีลาภ |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
แก้เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายรณฤทธิชัย คานเขต | นายรณฤทธิชัย คานเขต |
นายประยุทธ นิจพานิชย์ | ||
2 | นายสฤษดิ์ ประดับศรี | |
นายพีรพันธุ์ พาลุสุข | พลอากาศเอก จรูญ วุฒิกาญจน์ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายสุทธิชัย จันทร์อารักษ์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายสุทธิชัย จันทร์อารักษ์ |
2 | นายรณฤทธิชัย คานเขต ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายรณฤทธิชัย คานเขต |
3 | นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร |
4 | นายวิสันต์ เดชเสน | นายวิสันต์ เดชเสน |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 |
1 | นายรณฤทธิชัย คานเขต |
นางสาวณิรัฐกานต์ ศรีลาภ | |
2 | นายพิกิฏ ศรีชนะ |
นายพีรพันธุ์ พาลุสุข |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
แก้- พรรคเพื่อไทย
- พรรคไทยสร้างไทย → ไม่สังกัดพรรคการเมือง
- พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | เขตเลือกตั้งที่ 3 |
ชุดที่ 24 | พ.ศ. 2554 | นายปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ | นายบุญแก้ว สมวงศ์ | นายพีรพันธุ์ พาลุสุข |
ชุดที่ 25 | พ.ศ. 2562 | นายธนกร ไชยกุล | ||
ชุดที่ 26 | พ.ศ. 2566 | นางสุภาพร สลับศรี (สิ้นสภาพเพราะไม่สามารถหาพรรคสังกัดภายใน 30 วัน) |
นายธนพัฒน์ ศรีชนะ | |
ว่าง (แทนนางสุภาพร) |
รูปภาพ
แก้-
นายอุดร ทองน้อย
-
นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
-
นายรณฤทธิชัย คานเขต
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดยโสธร เก็บถาวร 2014-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน