อันดับของขนาด (ความยาว)
(เปลี่ยนทางจาก ยอตตะเมตร)
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ตารางต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของขนาดความยาวเพื่อช่วยในการเปรียบเทียบอันดับของขนาด ระหว่าง เมตร และ เมตร
ตัวคูณ | ผลคูณ | ค่า | วัตถุ |
---|---|---|---|
10−35 | 1.616 252×10−35 เมตร | ความยาวพลังค์ ความยาวที่น้อยกว่านี้ไม่สร้างปฏิกิริยาทางฟิสิกส์, ซึ่งตรงกับทฤษฎีฟิสิกส์ในปัจจุบัน[1] | |
10−24 | 1 ยอกโตเมตร (ym) | 2 ยอกโตเมตร (2×10−24 เมตร) | ขนาดรัศมีของนิวทริโนพลังงาน 1เมกะอิเล็กตรอนโวลต์[2] |
10−21 | 1 เซปโตเมตร (zm) | 7 เซปโตเมตร (7×10−21 เมตร) | ขนาดรัศมีของนิวทริโนพลังงานสูง[3] |
10−18 | 1 อัตโตเมตร (am) | ขนาดรัศมีต่ำสุดของควาร์ก และอิเล็กตรอน | |
10−16 | 100 อัตโตเมตร | 850 อัตโตเมตร | ขนาดรัศมีของ โปรตอน |
10−15 | 1 เฟมโตเมตร (fm) | 2.817 94 เฟมโตเมตร | ขนาดรัศมีของอิเล็กตรอน ในทฤษฎีกลศาสตร์ดั้งเดิม[4] |
10−12 | 1 พิโคเมตร (pm) | 1 พิโคเมตร | ระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของอะตอมในดาวแคระขาว |
5 พิโคเมตร | ความยาวคลื่นที่สั้นที่สุดของรังสีเอ็กซ์ | ||
10−11 | 10 พิโคเมตร | 25 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุไฮโดรเจน |
31 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุฮีเลียม | ||
38 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุนีออน | ||
42 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุฟลูออรีน | ||
48 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุออกซิเจน | ||
56 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุไนโตรเจน | ||
67 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุคาร์บอน | ||
71 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุโบรอน | ||
79 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุอาร์กอน | ||
88 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุกำมะถัน | ||
88 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุคริปทอน | ||
94 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุโบรมีน | ||
98 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุฟอสฟอรัส | ||
10−10 | 1 อังสตรอม (Å) | 0.1 นาโนเมตร | 1 อังสตรอม (Ångström) |
167 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุลิเทียม | ||
112 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุเบริลเลียม | ||
190 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุโซเดียม | ||
145 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุแมกนีเซียม | ||
167 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุโพแทสเซียม | ||
112 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุแคลเซียม | ||
265 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุรูบิเดียม | ||
219 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุสตรอนเชียม | ||
298 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุซีเซียม | ||
253 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุแบเรียม | ||
348 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุแฟรนเซียม | ||
283 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุเรเดียม | ||
372 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุอูนอูนเอนเนียม | ||
316 พิโคเมตร | รัศมีอะตอมของธาตุอูนไบนิลเลียม | ||
10−9 | 1 นาโนเมตร (nm) | 2 นาโนเมตร | เส้นผ่าศูนย์กลางสายเกลียวของดีเอ็นเอ[5] |
10−8 | 10 นาโนเมตร | 42 นาโนเมตร | ขนาดของ ไวรัสตับอักเสบบี |
60 นาโนเมตร | ความยาวของคลื่นอัลตราไวโอเลต | ||
90 นาโนเมตร | ขนาดของ เชื้อเฮชไอวี | ||
10−7 | 100 นาโนเมตร | 400 นาโนเมตร | ขนาดของ มิมิไวรัส (Mimivirus)[6] |
10−6 | 1ไมโครเมตร (um) | 1.5 ไมโครเมตร | ขนาดของโครโมโซม Y |
4 ไมโครเมตร | ขนาดของโครโมโซม X | ||
7 ไมโครเมตร | ขนาดของเม็ดเลือดแดง | ||
10−5 | 10 ไมโครเมตร | 15 ไมโครเมตร | ความยาวของคลื่นอินฟราเรด |
35 ไมโครเมตร | ขนาดของเซลล์ผิวหนัง | ||
50 ไมโครเมตร | ขนาดของอนุภาคตะกอน | ||
10−4 | 100 ไมโครเมตร | 0.1 มิลลิเมตร | ความกว้างเส้นผมของมนุษย์ |
100 ไมโครเมตร | ขนาดของวัตถุที่เล็กที่สุดที่มองได้ด้วยตาเปล่า | ||
120 ไมโครเมตร | ขนาดของเซลล์ไข่ในร่างกายมนุษย์ | ||
150 ไมโครเมตร | ความหนาของกระดาษ 1 แผ่น | ||
200 ไมโครเมตร | ขนาดของพารามีเซียม | ||
350 ไมโครเมตร | ขนาดของอะมีบา | ||
500 ไมโครเมตร | ขนาดของทรายและเกลือ 1 เม็ด | ||
750 ไมโครเมตร | ขนาดของแบคทีเรีย (Thiomargarita namibiensis) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (พ.ศ. 2553) | ||
10−3 | 1 มิลลิเมตร (mm) | 2 มิลลิเมตร | ขนาดของแหน |
5 มิลลิเมตร | ความยาวโดยทั่วไปของมดแดง | ||
5 มิลลิเมตร | ขนาดของลูกเห็บ | ||
7 มิลลิเมตร | ขนาดของเมล็ดทานตะวัน | ||
10−2 | 1 เซนติเมตร (cm) | 10 มิลลิเมตร | ขนาดของเมล็ดกาแฟ |
1.9 เซนติเมตร | ขนาดของเหรียญเพนนีของสหรัฐ | ||
2.54 เซนติเมตร | 1 นิ้ว | ||
3.1 เซนติเมตร | 1 อัตโตพาร์เซก | ||
5 เซนติเมตร | ความยาวของไม้ขีดไฟ | ||
5.5 เซนติเมตร | ขนาดของไข่ไก่ | ||
10−1 | 1 เดซิเมตร (dm) | 10 เซนติเมตร | ขนาดของกระแต |
22 เซนติเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของลูกฟุตบอลมาตรฐาน | ||
24 เซนติเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของลูกบาสเกตบอล | ||
25 เซนติเมตร | ขนาดของกาน้ำชาของรัสเซลล์[7] | ||
29.98 เซนติเมตร | ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 นาโนวินาที | ||
30 เซนติเมตร | ความยาวของไม้บรรทัด | ||
30.48 เซนติเมตร | 1 ฟุต | ||
91 เซนติเมตร | 1 หลา | ||
100 | 1 เมตร (m) | 1.7 เมตร (5 ฟุต 7 นิ้ว) | ความสูงโดยเฉลี่ยของมนุษย์ |
2.44 เมตร | ความสูงของประตูฟุตบอล | ||
2.45 เมตร | การกระโดดที่สูงที่สุดของมนุษย์ที่เคยถูกบันทึกไว้ (Javier Sotomayor) | ||
2.72 เมตร | มนุษย์ที่สูงที่สุดที่เคยถูกบันทึกไว้ (Robert Wadlow)[8] | ||
3.048 เมตร (10 ฟุต) | ความสูงของห่วงบาสเกตบอลจากพื้นดิน | ||
5.5 เมตร | ความสูงของยีราฟ (สัตว์ที่สูงที่สุดในโลก) | ||
8.95 เมตร | การกระโดดไกลที่ไกลที่สุดของมนุษย์ที่ถูกบันทึกไว้ (Mike Powell) | ||
101 | 1 เดคาเมตร (dam) | 33 เมตร | ความยาวที่มากที่สุดที่มีการบันทึกของวาฬสีน้ำเงิน (สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก)[9] |
49 เมตร (53 1/3 หลา) | ความกว้างของสนามอเมริกันฟุตบอล | ||
52 เมตร | ความสูงของน้ำตกไนแอการา | ||
55 เมตร | ความสูงของหอเอนเมืองปิซา ประเทศอิตาลี | ||
65 เมตร | ความยาวของเครื่องบินโบอิง 747 | ||
70 เมตร | ความกว้างของสนามฟุตบอลมาตรฐาน | ||
93.47 เมตร | ความสูงของอนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ สหรัฐ | ||
102 | 1 เฮกโตเมตร (hm) | 105 เมตร | ความยาวของสนามฟุตบอลมาตรฐาน |
109.73 เมตร (120 หลา) | ความยาวทั้งหมดของสนามอเมริกันฟุตบอล | ||
115.55 เมตร | ความสูงของต้นไม้ที่สูงที่สุดในโลก | ||
137 เมตร (147 เมตร) | ความสูงของมหาพีระมิดแห่งกีซา ประเทศอียิปต์ ในปัจจุบัน (อดีต) | ||
139.5 เมตร | รางรถไฟเหาะตีลังกาที่มีความสูงที่สุดในโลก มีชื่อว่า Kingda Ka สหรัฐ[10] | ||
270 เมตร | ความยาวของเรือไททานิก | ||
299.792 เมตร | ระยะทางของแสงที่เดินทางในเวลา 1 ไมโครวินาที | ||
320 เมตร | ความสูงของหอไอเฟล ประเทศฝรั่งเศส | ||
340 เมตร | ระยะทางของเสียงที่เดินทางในเวลา 1 วินาที | ||
828 เมตร | ความสูงของตึกบุรจญ์เคาะลีฟะฮ์ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความสูงที่สุดในโลก | ||
979 เมตร | ความสูงของน้ำตกแองเจิล ประเทศเวเนซูเอลา น้ำตกที่สูงที่สุดในโลก | ||
103 | 1 กิโลเมตร (km) | 1,609 เมตร | 1 ไมล์ |
2,565 เมตร | ความสูงจากระดับน้ำทะเลของของดอยอินทนนท์ | ||
4,000 เมตร | ความยาวของเซ็นทรัลพาร์ก ในนครนิวยอร์ก | ||
8,848 เมตร | ความสูงของเอเวอเรสต์ ภูเขาที่มีความสูงที่สุดในโลก | ||
104 | 10 กิโลเมตร | 10.2 กิโลเมตร | ความสูงของภูเขาไฟเมานาเคอา เมื่อวัดจากตีนเขา |
10.911 กิโลเมตร | ความลึกของร่องลึกบาดาลมาเรียนา | ||
10.96 กิโลเมตร | ความยาวของส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทยที่ตำบลห้วยทราย อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | ||
11 กิโลเมตร | ขนาดของดาวหางแฮลลีย์ | ||
13 กิโลเมตร | ความกว้างของช่องแคบยิบรอลตาร์ คั่นระหว่างทวีปเอเชียและทวีปยุโรป | ||
24 กิโลเมตร | ขนาดของดาวนิวตรอน | ||
25 กิโลเมตร | ความสูงของภูเขาไฟโอลิมปัส บนดาวอังคาร เป็นภูเขาที่มีความสูงมากที่สุดในระบบสุริยะ | ||
42 กิโลเมตร | การกระโดดร่มที่สูงที่สุดที่เคยบันทึกไว้ (Alan Eustace)[11] | ||
42.195 กิโลเมตร | ระยะทางของการวิ่งมาราธอน | ||
53.5 กิโลเมตร | ความยาวของคลองแสนแสบ คลองที่ยาวที่สุดในประเทศไทย[12] | ||
75 กิโลเมตร | ขนาดของรัฐโรดไอแลนด์ รัฐที่เล็กที่สุดของสหรัฐ | ||
77.1 กิโลเมตร | ความยาวของคลองปานามา | ||
90 กิโลเมตร | ความกว้างของช่องแคบแบริง คั่นระหว่างรัสเซียและอะแลสกา | ||
105 | 100 กิโลเมตร | 120 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของประเทศบรูไน |
154 กิโลเมตร | ความยาวของรัฐเดลาแวร์ | ||
163 กิโลเมตร | ความยาวของคลองสุเอซ | ||
240 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของประเทศรวันดา | ||
300 กิโลเมตร | ระยะทางของแสงที่เดินทางในเวลา 1 มิลลิวินาที | ||
400 กิโลเมตร | ขนาดของรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย | ||
450 กิโลเมตร | ความยาวของแกรนด์แคนยอน | ||
765 กิโลเมตร | ความยาวของแม่น้ำชี แม่น้ำที่ยาวที่สุดในประเทศไทย | ||
974.6 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์แคระ เซเรส[13] | ||
106 | 1 เมกะเมตร (Mm) | 1,100 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของประเทศอิตาลี |
1,200 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของรัฐแคลิฟอร์เนีย | ||
1,200 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของรัฐเท็กซัส | ||
1,700 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของรัฐเกแบ็ก รัฐที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดา | ||
1,800 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของนูนาวุต ดินแดนที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดา | ||
2,285 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของรัฐอะแลสกา รัฐที่ใหญ่ที่สุดของสหรัฐ | ||
2,390 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวพลูโต | ||
2,700 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของไทรทัน | ||
3,480 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดวงจันทร์ | ||
4,200 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของสหรัฐ | ||
4,900 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวพุธ | ||
6,400 กิโลเมตร | ความยาวทั้งหมดของกำแพงเมืองจีน ประเทศจีน | ||
6,600 กิโลเมตร | ความยาวโดยประมาณของแม่น้ำไนล์และแม่น้ำอะเมซอน แม่น้ำที่มีความยาวมากที่สุดในโลก | ||
6,800 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวอังคาร | ||
8,000 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของทวีปเอเชีย | ||
9,288 กิโลเมตร | ความยาวของทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย เป็นทางรถไฟที่มีความยาวมากที่สุดในโลก | ||
107 | 10,000 กิโลเมตร | 12,756 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของโลก |
20,000 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของซิริอุส บี | ||
40,075 กิโลเมตร | ความยาวเส้นศูนย์สูตรของโลก | ||
49,200 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเนปจูน | ||
51,750 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวยูเรนัส | ||
64,000 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของโลกไมน์คราฟต์ | ||
108 | 100,000 กิโลเมตร | 142,984 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวพฤหัสบดี |
299,792.458 กิโลเมตร | ระยะทางของแสงที่เดินทางในเวลา 1 วินาที | ||
384,000 กิโลเมตร | ระยะห่างจากโลกถึงดวงจันทร์ | ||
930,000 กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (GQ Lupi b)[14] | ||
109 | 1 จิกะเมตร (Gm) | 1,390,000 กิโลเมตร (1.39 จิกะเมตร) | เส้นผ่านศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ |
2,500,000 กิโลเมตร (2.5 จิกะเมตร) | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวซิริอุส เอ | ||
9,600,000 กิโลเมตร (9.6 จิกะเมตร) | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวรวงข้าว (Spica) | ||
1010 | 10 ล้าน กิโลเมตร | 10 ล้าน กิโลเมตร | ความสูงรวมกันของคนทั้งหมดบนโลก |
18 ล้าน กิโลเมตร | ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 นาที | ||
40 ล้าน กิโลเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเหนือ | ||
1011 | 100 ล้าน กิโลเมตร | 150,000,000 กิโลเมตร | 1 หน่วยดาราศาสตร์ (หน่วยวัดระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์) |
1012 | 1 เทระเมตร (Tm) | 1.4×109 กิโลเมตร | ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเสาร์ |
5.9×109 กิโลเมตร (5.9 เทระเมตร) | ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวพลูโต | ||
1013 | 10 เทระเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของระบบสุริยะ (ในขณะนี้)[15] | |
15×109 กิโลเมตร = 15 เทระเมตร | ขนาดของแถบไคเปอร์ | ||
15.147×109 กิโลเมตร = 15.147 เทระเมตร | ระยะทางของยานวอยเอจเจอร์ 2 จากดวงอาทิตย์ (28 มีนาคม พ.ศ. 2556) | ||
20×109 กิโลเมตร = 20 เทระเมตร | ขนาดของเนบิวลาโอมุนคูลัส เนบิวลาที่มีขนาดเล็กที่สุด | ||
21.49×109 กิโลเมตร = 21.49 เทระเมตร | ระยะทางของยานวอยเอจเจอร์ 1 จากดวงอาทิตย์ (ตุลาคม พ.ศ. 2561) เป็นวัตถุมนุษย์สร้างขึ้นที่ไปได้ไกลที่สุด[16] | ||
26×109 กิโลเมตร = 26 เทระเมตร | 1 วันแสง | ||
55×109 กิโลเมตร = 55 เทระเมตร | ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวหางเฮล-บอปป์ ขณะมีระยะห่างกันมากที่สุด | ||
1014 | 100 เทระเมตร | 140×109 กิโลเมตร = 140 เทระเมตร | ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเคราะห์น้อยเซดนา ขณะมีระยะห่างกันมากที่สุด |
800×109 กิโลเมตร = 800 เทระเมตร | ขนาดของเนบิวลาสติงเรย์[17] | ||
1015 | 1 เพตะเมตร (Pm) | 9.46×1012 กิโลเมตร (9.46 เพตะเมตร) | 1 ปีแสง (ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี) ยานวอยเอเจอร์ 1 ต้องใช้เวลาเดินทาง 17,500 ปี จึงจะมีระยะทางเท่ากับ 1 ปีแสง |
1016 | 10 เพตะเมตร | 3.2616 ปีแสง (3.08568×1016 เมตร = 30.8568 เพตะเมตร) | 1 พาร์เซก |
4.22 ปีแสง (39.9 เพตะเมตร) | ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ถึงดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุด (ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า) | ||
4.37 ปีแสง (41.3 เพตะเมตร) | ระยะห่างของดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ใกล้ที่สุด (ดาวอัลฟาคนครึ่งม้า บีบี) ที่ถูกค้นพบเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 | ||
10.4 ปีแสง (98.4 เพตะเมตร) | ระยะห่างของดาวเคราะห์นอกระบบ (ดาวเอปไซลอน แม่น้ำ บี) | ||
1017 | 100 เพตะเมตร | 20.4 ปีแสง (193 เพตะเมตร) | ระยะห่างของดาวเคราะห์ที่นักวิทยาศาสตร์คาดว่าจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ที่ใกล้ที่สุด (กลีเซอ 581 ดี) ที่ถูกค้นพบเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 |
65 ปีแสง (615 เพตะเมตร) | ค่าประมาณของรัศมีของฟองวิทยุของมนุษย์ที่เกิดจากการถ่ายทอดทีวีกำลังสูง รั่วไหลผ่านชั้นบรรยากาศออกไปนอกอวกาศ | ||
1018 | 1 เอกซะเมตร (Em) | 200 ปีแสง = 2 เอกซะเมตร, 2×1018 กิโลเมตร | ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงระบบดาวฤกษ์คู่ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับดวงอาทิตย์ที่ใกล้ที่สุด (HIP 56948)[18] |
600 ปีแสง = 6 เอกซะเมตร, 6×1018 กิโลเมตร | ขนาดของเนบิวลาที่ใหญ่ที่สุด (เนบิวลาทารันทูลา) | ||
1019 | 10 เอกซะเมตร | 1,000 ปีแสง = 9.46 เอกซะเมตร, 9.46×1015 กิโลเมตร | ความหนาของกาแล็กซีทางช้างเผือกโดยประมาณ |
1020 | 100 เอกซะเมตร | 12,000 ปีแสง = 113.5 เอกซะเมตร หรือ 1.135×1020 กิโลเมตร | ความหนาของของแผ่นแก๊สของดาราจักรทางช้างเผือก[19] |
1021 | 1 เซตตะเมตร (Zm) | 100,000 ปีแสง | เส้นผ่านศูนย์กลางของกาแล็กซีทางช้างเผือก |
52 กิโลพาร์เซก = 1.6×1021 เมตร = 1.6 เซตตะเมตร | ระยะห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกถึงเมฆแมเจลแลนใหญ่ | ||
54 กิโลพาร์เซก = 1.66 เซตตะเมตร | ระยะห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกถึงเมฆแมเจลแลนเล็ก | ||
1022 | 10 เซตตะเมตร | 22.3 เซตตะเมตร = 2.36 ล้านปีแสง = 725 กิโลพาร์เซก | ระยะห่างจากดาราจักรทางช้างเผือกถึงดาราจักรแอนโดรเมดา |
50 เซตตะเมตร (1.6 ล้านพาร์เซก) | เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มท้องถิ่น (Local Group) | ||
52.02 เซตตะเมตร (5.5 ล้านปีแสง) | เส้นผ่านศูนย์กลางของไอซี 1101 (IC 1101) ดาราจักรที่ใหญ่ที่สุดที่ค้นพบจนถึงปัจจุบัน[20] | ||
1023 | 100 เซตตะเมตร | 300–600 เซตตะเมตร = 10–20 เมกะพาร์เซก | เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มกระจุกดาราจักรท้องถิ่น (Virgo Cluster) |
1024 | 1 ยอตตะเมตร (Ym) | 200 ล้านปีแสง = 1.9 ยอตตะเมตร = 61 เมกะพาร์เซก | เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มกระจุกดาราจักรลาเนียเคอา (Local Supercluster) |
300 ล้านปีแสง = 2.8 ยอตตะเมตร = 100 เมกะพาร์เซก | เส้นผ่านศูนย์กลางของจุดสิ้นสุดของความยิ่งใหญ่ (End of Greatness)[21] | ||
550 ล้านปีแสง = ~5 ยอตตะเมตร = ~170 เมกะพาร์เซก | เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มกระจุกดาวดาราจักรนาฬิกา (Horologium-Reticulum Supercluster)[22] | ||
1 พันล้านปีแสง = 9.46 ยอตตะเมตร = 306 เมกะพาร์เซก | เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มกระจุกดาวดาราจักรซับซ้อนพิสเซส-ซีตัส (Pisces–Cetus Supercluster Complex)[23] | ||
1025 | 10 ยอตตะเมตร | 1.37 พันล้านปีแสง = 13 ยอตตะเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของกำแพงใหญ่สโลน[24] |
1026 | 100 ยอตตะเมตร | 92×109 ปีแสง = 9.2×1026 เมตร = 920 ยอตตะเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของเอกภพที่สังเกตได้ (Observable Universe)[15] |
1027 | 1,000 ยอตตะเมตร | 2 แสนล้านปีแสง = 2.4×1027 เมตร = 2,400 ยอตตะเมตร | เส้นผ่านศูนย์กลางของเอกภพถ้าอยู่ในรูปของทรงกลม 3 ทรงกลม[25] |
1028 | 10,000 ยอตตะเมตร | 7.8 ล้านล้านปีแสง = 7.4×1028 เมตร = 74,000 ยอตตะเมตร | ขอบเขตต่ำสุดของเอกภพเช่นเดียวกับที่ตรวจวัดได้จากยานอวกาศพลังค์[26] |
อ้างอิง
แก้- ↑ "Planck length". NIST. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 November 2018. สืบค้นเมื่อ 7 January 2019.
- ↑ Carl R. Nave. "Cowan and Reines Neutrino Experiment". Hyperphysics. สืบค้นเมื่อ 2008-12-04. (6.3 × 10−44 cm2, which gives an effective radius of about 2 × 10−24 m)
- ↑ "CODATA Value: classical electron radius". The NIST Reference on Constants, Units, and Uncertainty. NIST.
- ↑ Stewart, Robert. "Dr". Radiobiology Software. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-30. สืบค้นเมื่อ 2015-05-20.
- ↑ Klose T.; Kuznetsov Y. G.; และคณะ (2010). "The three-dimensional structure of Mimivirus". Intervirology. 53 (5): 268–273. doi:10.1159/000312911. PMID 20551678.
- ↑ Bertrand Russell (1952). "Is There a God?". Illustrated Magazine. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-10. สืบค้นเมื่อ 2019-12-03.
- ↑ "Robert Wadlow: Tallest man ever". Guinness World Records.
- ↑ "Animal Records". Smithsonian National Zoological Park. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2004.
- ↑ Marden, Duane (25 May 2012). "Kingda Ka (Six Flags Great Adventure)". Roller Coaster DataBase.
- ↑ Markoff, John (24 October 2014). "Parachutist's Record-Breaking Fall: 26 Miles, 15 Minutes". The New York Times. สืบค้นเมื่อ October 24, 2014.
- ↑ ศานติ ภักดีคำ (ตุลาคม 2557). "คลองแสนแสบ หรือคลองบางขนาก คลองขุดเพื่อการเดินทัพไทย-เขมร". ยุทธมรรคา เส้นทางเดินทัพไทยเขมร. มติชน, สนพ. pp. 104–106. ISBN 9789740213420.
- ↑ Thomas PC, Parker JW, McFadden LA, Russell CT, Stern SA, Sykes MV, Young EF (September 2005). "Differentiation of the asteroid Ceres as revealed by its shape". Nature. 437 (7056): 224–6. Bibcode:2005Natur.437..224T. doi:10.1038/nature03938. PMID 16148926.
- ↑ Ralph Neuhäuser; Markus Mugrauer; และคณะ (2008). "Astrometric and photometric monitoring of GQ Lupi and its sub-stellar companion". Astronomy and Astrophysics. 484 (1): 281–291. Bibcode:2008A&A...484..281N. doi:10.1051/0004-6361:20078493.
- ↑ 15.0 15.1 Cliff Burgess; Fernando Quevedo (November 2007). "The Great Cosmic Roller-Coaster Ride". Scientific American. p. 55. สืบค้นเมื่อ 2017-05-01.
- ↑ "Spacecraft escaping the Solar System". Heavens Above. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2018. สืบค้นเมื่อ 19 October 2018.
- ↑ Bobrowsky, Matthew (1994). "Narrowband HST Imagery of the Young Planetary Nebula Henize 1357". The Astrophysical Journal. 426: L47–L50. Bibcode:1994ApJ...426L..47B. doi:10.1086/187336.
- ↑ Shiga, David. "Sun's 'twin' an ideal hunting ground for alien life". New Scientist. สืบค้นเมื่อ 2007-10-03.
- ↑ "Milky Way fatter than first thought". The Sydney Morning Herald. Australian Associated Press. 20 February 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-11-14.
- ↑ Uson, Juan M.; Boughn, Stephen P.; Kuhn, Jeffrey R. (March 1991). "Diffuse light in dense clusters of galaxies. I. R-band observations of Abell 2029". The Astrophysical Journal. 369: 46–53. Bibcode:1991ApJ...369...46U. doi:10.1086/169737.
- ↑ Robert P Kirshner (2002). The Extravagant Universe: Exploding Stars, Dark Energy and the Accelerating Cosmos. Princeton University Press. p. 71. ISBN 978-0-691-05862-7.
- ↑ Richard Powell, บ.ก. (30 July 2006). "The Horologium Supercluster".
- ↑ Tully, R. Brent (1987-12-01). "More about clustering on a scale of 0.1 C". The Astrophysical Journal. 323: 1–18. Bibcode:1987ApJ...323....1T. doi:10.1086/165803.
- ↑ J. R. Gott III et al., Astrophys. J., 624, 463 (2005). Figure 8 - "Logarithmic Maps of the Universe" - is available as a poster from the homepage of Mario Juric. เก็บถาวร 2009-01-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Scott, Douglas; Zibin, J.P. (2006). "How Many Universes Do There Need To Be?". International Journal of Modern Physics D. 15 (12): 2229–2233. arXiv:astro-ph/0605709v2. Bibcode:2006IJMPD..15.2229S. doi:10.1142/S0218271806009662.
- ↑ Thiago S. Pereira; Luis Gustavo T. Silva (3 April 2013). "Inflationary Super-Hubble Waves and the Size of the Universe". 1. arXiv:1304.1181v1.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- How Big Are Things? displays orders of magnitude in successively larger rooms
- "Powers of Ten". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 July 2012.
Travel across the Universe. Altering perspective by changing scale by just a few powers of ten (interactive)
- "Secret Worlds: The Universe Within". Magnetic Field Laboratory, Florida State University. 14 February 2017.
- Scale of the universe- interactive guide to length magnitudes