อิเล็กตรอนโวลต์

อิเล็กตรอนโวลต์ (อังกฤษ: electron volt / electronvolt, สัญลักษณ์: eV) เป็นหน่วยการวัดพลังงาน เท่ากับปริมาณของพลังงานจลน์ ที่เกิดขึ้นจากการที่อิเล็กตรอนอิสระเดินทางผ่านความต่างศักย์จากสนามไฟฟ้าสถิตขนาด 1 โวลต์ในสุญญากาศ

พลังงานหนึ่งอิเล็กตรอนโวลต์เป็นพลังงานที่น้อยมาก คือ

1 eV = 1.602176634×10−19 J[1]

หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ได้รับการยอมรับ (แต่ไม่แนะนำ) ให้ใช้กับระบบ SI หน่วยนี้ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในวงการโซลิดสเตต ปรมาณู นิวเคลียร์ และฟิสิกส์อนุภาค และมักใช้ร่วมกับตัวนำหน้าหน่วย m o M หรือ f

หน่วยพหุคูณ แก้

พหุคูณเอสไอสำหรับหน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ (eV)
พหุคูณย่อย พหุคูณใหญ่
ค่า สัญลักษณ์ ชื่อ ค่า สัญลักษณ์ ชื่อ
10–1 eV deV เดซิอิเล็กตรอนโวลต์ 101 eV daeV เดคาอิเล็กตรอนโวลต์
10–2 eV ceV เซนติอิเล็กตรอนโวลต์ 102 eV heV เฮกโตอิเล็กตรอนโวลต์
10–3 eV meV มิลลิอิเล็กตรอนโวลต์ 103 eV keV กิโลอิเล็กตรอนโวลต์
10–6 eV µeV ไมโครอิเล็กตรอนโวลต์ 106 eV MeV เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
10–9 eV neV นาโนอิเล็กตรอนโวลต์ 109 eV GeV จิกะอิเล็กตรอนโวลต์
10–12 eV peV พิโกอิเล็กตรอนโวลต์ 1012 eV TeV เทระอิเล็กตรอนโวลต์
10–15 eV feV เฟมโตอิเล็กตรอนโวลต์ 1015 eV PeV เพตะอิเล็กตรอนโวลต์
10–18 eV aeV อัตโตอิเล็กตรอนโวลต์ 1018 eV EeV เอกซะอิเล็กตรอนโวลต์
10–21 eV zeV เซปโตอิเล็กตรอนโวลต์ 1021 eV ZeV เซตตะอิเล็กตรอนโวลต์
10–24 eV yeV ยอกโตอิเล็กตรอนโวลต์ 1024 eV YeV ยอตตะอิเล็กตรอนโวลต์
หน่วยที่นิยมใช้แสดงเป็นตัวหนา
  1. แม่แบบ:"CODATA Value: Planck constant in eV s". Archived from the original on 22 January 2015. Retrieved 30 March 2015.