อูนอูนเอนเนียม
อูนอูนเอนเนียม (ละติน: Ununennium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 119 และมีสัญลักษณ์ Uue
อูนอูนเอนเนียม | |||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||||||||||||||||||
อูนอูนเอนเนียมในตารางธาตุ | |||||||||||||||||||||||||
ลักษณะปรากฏ | |||||||||||||||||||||||||
ไม่ทราบ | |||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทั่วไป | |||||||||||||||||||||||||
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม | อูนอูนเอนเนียม, Uue, 119 | ||||||||||||||||||||||||
การออกเสียง | /uːn.uːnˈɛniəm/ oon-oon-en-ee-əm | ||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | ไม่ทราบแน่ชัด แต่น่าจะเป็นโลหะแอลคาไล | ||||||||||||||||||||||||
หมู่ คาบและบล็อก | 1 (โลหะแอลคาไล), 8, g | ||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอมมาตรฐาน | [315] (ทำนายไว้)[1] | ||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Uuo] 8s1(ทำนายไว้)[2] 2, 8, 18, 32, 32, 18, 8, 1 (ทำนายไว้) | ||||||||||||||||||||||||
ประวัติ | |||||||||||||||||||||||||
การตั้งชื่อ | ระบบการตั้งชื่อธาตุตาม IUPAC | ||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติกายภาพ | |||||||||||||||||||||||||
สถานะ | ไม่ทราบสถานะ (อาจเป็นได้ทั้งของแข็งหรือของเหลว)[2] | ||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 3 (ทำนายไว้)[2] g·cm−3 | ||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 273–303 K, 0–30 °C, 32–86 (ทำนายไว้)[2] °F | ||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 903 K, 630 °C, 1166 (ทำนายไว้)[1] °F | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | คาดว่า 2.01–2.05 [3] kJ·mol−1 | ||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติอะตอม | |||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิเดชัน | คาดว่า 1, 3[2] | ||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน | ค่าที่ 1: คาดว่า 437.1[3] kJ·mol−1 | ||||||||||||||||||||||||
ค่าที่ 2: คาดว่า 1958.7–2064.8[3] kJ·mol−1 | |||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | คาดว่า 240[2] pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีโควาเลนต์ | คาดว่า 263–281[3] pm | ||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปเสถียรที่สุด | |||||||||||||||||||||||||
บทความหลัก: ไอโซโทปของอูนอูนเอนเนียม | |||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||
อ้างอิง |
"อูนอูนเอนเนียม" เป็นชื่อชั่วคราวในระบบ IUPAC (บางตำราอ่านว่า "อูนันเอนเนียม") และมีชื่อชั่วคราวอีกชื่อตามพยากรณ์ของดมีตรี เมนเดเลเยฟว่า "เอกา-แฟรนเซียม" (eka-francium) อูนอูนเอนเนียมเป็นธาตุในหมู่โลหะแอลคาไลและเป็นธาตุแรกในคาบที่ 8
การปรากฏ สมบัติ และปฏิกิริยาเคมีแก้ไข
ซึ่งเป็นผลผลิตจากการปะทะกันระหว่าง อะตอมของ ไอน์สไตเนียม-254 กับ ไอออนของ แคลเซียม-48 กระทำที่ เบอร์คีเลย์,รัฐแคลิฟอร์เนีย ดังสมการ
ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555 ได้มีการค้นพบไอโซโทปของอูนอูนเอนเนียมโดยการปะทะกันระหว่างเบอร์คีเลียมและไทเทเนียมดังสมการ
อูนอูนเอนเนียมคาดว่าจะมีสมบัติคล้ายกับแฟรนเซียม แต่อูนอูนเอนเนียมมีสถานะต่างจากทุกธาตุในหมู่โลหะแอลคาไล คือ ธาตุลิเทียม, โซเดียม, โพแทสเซียม, รูบิเดียม, ซีเซียม และ แฟรนเซียม เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ส่วนอูนอูนเอนเนียม เป็นของเหลวหรือของแข็งเหลวที่อุณหภูมิห้อง
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ 1.0 1.1 Fricke, B.; Waber, J. T. (1971). "Theoretical Predictions of the Chemistry of Superheavy Elements" (PDF). Actinides Reviews. 1: 433–485. สืบค้นเมื่อ 7 August 2013.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 Haire, Richard G. (2006). "Transactinides and the future elements". ใน Morss; Edelstein, Norman M.; Fuger, Jean (บ.ก.). The Chemistry of the Actinide and Transactinide Elements (3rd ed.). Dordrecht, The Netherlands: Springer Science+Business Media. ISBN 1-4020-3555-1.
{{cite book}}
: CS1 maint: ref duplicates default (ลิงก์) - ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 Bonchev, Danail; Kamenska, Verginia (1981). "Predicting the Properties of the 113–120 Transactinide Elements". J. Phys. Chem. 85: 1177–1186.
- ↑ 4.0 4.1 Düllmann, Christoph E. and the TASCA E119 collaboration. Search for element 119, 11th Workshop on Recoil Separator for Superheavy Element Chemistry, GSI Darmstadt, Germany, September 14, 2012.
บทความเกี่ยวกับเคมีนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เคมี |