เทนเนสซีน

(เปลี่ยนทางจาก Tennessine)

เทนเนสซีน (อังกฤษ: Tennessine) เป็นธาตุในกลุ่มโลหะหลังทรานซิชัน ที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 117 และมีสัญลักษณ์ Ts เคยมีชื่อชั่วคราวในระบบ IUPAC คือ "อูนอูนเซปเทียม" (สัญลักษณ์ธาตุ Uus) และมีชื่อชั่วคราวอีกชื่อตามพยากรณ์ของดมีตรี เมนเดเลเยฟว่า "เอกา-แอสทาทีน" (eka-astatine) ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 2010 โดยนักวิทยาศาสตร์ในโครงการการร่วมมือระหว่างรัสเซีย-อเมริกาที่เมืองดุบนา ประเทศรัสเซีย ต่อมาในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2016 IUPAC เสนอชื่อ เทนเนสซีน (tennessine; สัญลักษณ์ธาตุ Ts) เป็นชื่อทางการของธาตุนี้ ชื่อ "เทนเนสซีน" มาจากชื่อรัฐเทนเนสซี ประเทศสหรัฐอเมริกา[7]

เทนเนสซีน, 00Ts
เทนเนสซีน
การอ่านออกเสียง/ˈtɛnəsn/[1] (TEN-ə-seen)
รูปลักษณ์ไม่แน่ชัด อาจจะมีสีคล้ำโลหะ
เลขมวล[294]
เทนเนสซีนในตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
At

Ts

Usu
ลิเวอร์มอเรียมเทนเนสซีนออกาเนสซอน
หมู่group 17 (halogens)
คาบคาบที่ 7
บล็อก  บล็อก-p
การจัดเรียงอิเล็กตรอน[Rn] 5f14 6d10 7s2 7p5 (predicted)[2]
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น2, 8, 18, 32, 32, 18, 7
(คาดว่า)
สมบัติทางกายภาพ
วัฏภาค ณ STPของแข็ง (คาดว่า)[2][3]
จุดหลอมเหลว623–823 K ​(350–550 °C, ​​662–1022 (คาดว่า)[2] °F)
จุดเดือด883 K ​(610 °C, ​1130 (คาดว่า)[2] °F)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.)7.1–7.3 (extrapolated)[3] g/cm3
สมบัติเชิงอะตอม
เลขออกซิเดชัน(−1), (+1), (+3), (+5) (predicted)[4][2]
รัศมีอะตอมempirical: 138 (คาดว่า)[3] pm
รัศมีโคเวเลนต์156–157 (extrapolated)[3] pm
สมบัติอื่น
เลขทะเบียน CAS54101-14-3
ประวัติศาสตร์
การค้นพบสถาบันร่วมเพื่อการวิจัยนิวเคลียร์
ห้องปฏิบัติการแห่งชาติลอว์เรนซ์ ลิเวอร์มอร์
ห้องปฏิบัติการแห่งชาติโอ๊กริดจ์ (2010)
ไอโซโทปของเทนเนสซีน
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของเทนเนสซีน
หมวดหมู่ หมวดหมู่: เทนเนสซีน
| แหล่งอ้างอิง

ประวัติ

แก้

ก่อนการค้นพบ

แก้

ในปี 2004 ที่สถาบันร่วมวิจัยนิวเคลียร์ในเมืองดุบนา ประเทศรัสเซียได้มีการค้นคว้าเกี่ยวกับธาตุที่ 117 (หรือเรียกอีกอย่างว่า มี 117 โปรตอนในนิวเคลียส) โดยการฟิวชั่นกับเป้าหมายคือเบอร์คีเลียม (ธาตุที่ 97) และลำแสงแคลเซียม (ธาตุที่ 20)

ทีมวิจัยในรัสเซียตั้งใจที่จะใช้ไอโซโทปของแคลเซียมคือ แคลเซียม-48 มี 20 โปรตอน 28 นิวตรอน เป็นไอโซโทปที่มีนิวเคลียสน้ำหนักเบาที่สุดและเสถียร หรือ ใกล้เสถียร อันดับสองคือ ซิงก์-68 ซึ่งหนักกว่าแคลเซียม-48 มาก ลำแสงแคลเซียม-48 ได้สร้างขึ้นที่รัสเซียโดยกระบวนการทางเคมี[8]

การค้นพบ

แก้
 
เป้าหมายเบอร์คีเลียมใช้ในการสังเคราะห์(อยู่ในสารละลาย)

ในปี 2550 ทีมวิจัยของสหรัฐอเมริกาได้กลับมาใช้เบอร์คีเลียมเป็นเป้าหมายอีกครั้งและทางทีมวิจัยรัสเซียก็ได้ติดต่อกับสหรัฐอเมริกาแล้ว การวิจัยครั้งนี้ทำให้เบอร์คีเลียมจำนวน 22 มิลลิกรัม พอที่จะดำเนินการทดลองได้ และ เบอร์คีเลียมได้ถูกส่งมาจากรัสเซียอย่างรวดเร็ว: ครึ่งชีวิตของไอโซโทปเบอร์คีเลียมที่ใช้(เบอร์คีเลียม-249)คือ 330 วัน และในฤดูร้อนปี 2551 มันก็ถูกส่งมาจากนิวยอร์กจนถึงมอสโกว

การวิจัยได้เริ่มขึ้นในเดือนมิถุนายนปี 2551 และ ในเดือนมกราคม ปี 2552, นักวิทยาศาสตร์ที่ Flerov Laboratory of Nuclear Reactions ได้เริ่มทำการยิงแคลเซียม-48 สู่ เบอร์คีเลียม-249 ในวันที่ 9 เมษายน ปี 2552 รายงานเกี่ยวกับการทดลองนี้ได้ระบุไว้ว่าประสบความสำเร็จ สามารถสร้างธาตุใหม่ขึ้นมา ดังสมการ

 
 

ก่อนที่จะผ่านการสังเคราะห์ของเทนเนสซีนนั้น การค้นพบไอโซโทปน้องสาวของเทนเนสซีนไม่มีเลย แต่หลังจากสังเคราะห์แล้วก็ค้นพบไอโซโทปน้องสาวแรก คือ อูนอูนเพนเทียม-289 หนึ่งในไอโซโทปน้องสาวของเทนเนสซีน และทาง JWP ได้จัดให้ธาตุนี้เป็นธาตุแทรนส์-โคเปอร์นิเซียม หรือ ธาตุหลังโคเปอร์นิเซียม

ชื่อ

แก้

ถ้าใช้การทำนายชื่อธาตุของเมนเดเลเวฟ เทนเนสซีนจะเป็นธาตุที่มีชื่อว่า เอคา-แอสทาทีน หรือ ดีวิ-ไอโอดีน ในปี ค.ศ. 1979 IUPAC ได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งชื่อธาตุและทำให้ธาตุนี้มีชื่อว่า "อูนอูนเซปเทียม" (สัญลักษณ์ธาตุ Uus) ต่อมาในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2016 IUPAC เสนอชื่อ "เทนเนสซีน" (tennessine; สัญลักษณ์ธาตุ Ts) เป็นชื่อทางการของธาตุนี้ ชื่อ "เทนเนสซีน" มาจากชื่อรัฐเทนเนสซี ประเทศสหรัฐอเมริกา[7]

ประโยชน์

แก้

ประวัติการค้นพบและการศึกษา

แก้

แน่ชัดว่าสมบัติทางเคมี เช่น ความยาวพันธะเคมี ฯลฯ ถูกพยากรณ์ว่าต่างจากแนวโน้มตามธาตุในคาบเดียว เพราะตำแหน่งตามหมู่ตรงกับแฮโลเจน[9] อย่างไรก็ตาม เทนเนสซีนอาจแสดงสมบัติของธาตุกึ่งโลหะน้อยกว่า

อ้างอิง

แก้
  1. Ritter, Malcolm (June 9, 2016). "Periodic table elements named for Moscow, Japan, Tennessee". Associated Press. สืบค้นเมื่อ December 19, 2017.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 Hoffman, Darleane C.; Lee, Diana M.; Pershina, Valeria (2006). "Transactinides and the future elements". ใน Morss; Edelstein, Norman M.; Fuger, Jean (บ.ก.). The Chemistry of the Actinide and Transactinide Elements (3rd ed.). Dordrecht, The Netherlands: Springer Science+Business Media. ISBN 978-1-4020-3555-5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Haire" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 Bonchev, Danail; Kamenska, Verginia (1981). "Predicting the Properties of the 113–120 Transactinide Elements". J. Phys. Chem. 85: 1177–1186.
  4. Fricke, Burkhard (1975). "Superheavy elements: a prediction of their chemical and physical properties". Recent Impact of Physics on Inorganic Chemistry. Structure and Bonding. 21: 89–144. doi:10.1007/BFb0116498. ISBN 978-3-540-07109-9. สืบค้นเมื่อ 4 October 2013.
  5. Royal Society of Chemistry (2016). "Ununseptium". rsc.org. Royal Society of Chemistry. สืบค้นเมื่อ 9 November 2016. A highly radioactive metal, of which only a few atoms have ever been made.
  6. GSI (14 December 2015). "Research Program – Highlights". superheavies.de. GSI. สืบค้นเมื่อ 9 November 2016. If this trend were followed, element 117 would likely be a rather volatile metal. Fully relativistic calculations agree with this expectation, however, they are in need of experimental confirmation.
  7. 7.0 7.1 "IUPAC Is Naming The Four New Elements Nihonium, Moscovium, Tennessine, And Oganesson". IUPAC. 2016-06-08. สืบค้นเมื่อ 2016-06-08.
  8. Jepson, B. E.; Shockley, G. C. (1984). "Calcium hydroxide isotope effect in calcium isotope enrichment by ion exchange". Separation Science and Technology. 19 (2–3): 173–181. doi:10.1080/01496398408060653.
  9. "Trond Saue. Principles and Applications of Relativistic Molecular Calculations" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-06-28. สืบค้นเมื่อ 2007-10-24.

อ้างอิง และแหล่งข้อมูลอื่น

แก้