เซอร์โคเนียม
(เปลี่ยนทางจาก Zirconium)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
เซอร์โคเนียม (อังกฤษ: Zirconium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 40 และสัญลักษณ์คือ Zr เป็นโลหะทรานซิชันมีสีขาวเงินคล้ายไทเทเนียม สามารถสกัดได้จากแร่เซอร์คอน มันทนต่อการกันกร่อนมาก
เซอร์โคเนียม | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การอ่านออกเสียง | /zɜːrˈkoʊniəm/ | ||||||||||||||
รูปลักษณ์ | สีขาวเงิน | ||||||||||||||
Standard atomic weight Ar°(Zr) | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
เซอร์โคเนียมในตารางธาตุ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
หมู่ | group 4 | ||||||||||||||
คาบ | คาบที่ 5 | ||||||||||||||
บล็อก | บล็อก-d | ||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Kr] 4d2 5s2 | ||||||||||||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 10, 2 | ||||||||||||||
สมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||
วัฏภาค ณ STP | solid | ||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 2125 K (1852 °C, 3365 °F) | ||||||||||||||
จุดเดือด | 4650 K (4377 °C, 7911 °F) | ||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 6.52 g/cm3 | ||||||||||||||
เมื่อเป็นของเหลว (ณ m.p.) | 5.8 g/cm3 | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 14 kJ/mol | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ | 591 kJ/mol | ||||||||||||||
ความจุความร้อนโมลาร์ | 25.36 J/(mol·K) | ||||||||||||||
ความดันไอ
| |||||||||||||||
สมบัติเชิงอะตอม | |||||||||||||||
เลขออกซิเดชัน | −2, 0, +1,[2] +2, +3, +4 (ออกไซด์เป็นแอมโฟเทริก) | ||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 1.33 | ||||||||||||||
รัศมีอะตอม | empirical: 160 pm | ||||||||||||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 175±7 pm | ||||||||||||||
เส้นสเปกตรัมของเซอร์โคเนียม | |||||||||||||||
สมบัติอื่น | |||||||||||||||
การมีอยู่ในธรรมชาติ | primordial | ||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | hexagonal close-packed (hcp) | ||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | 5.7 µm/(m⋅K) (ณ 25 °C) | ||||||||||||||
การนำความร้อน | 22.6 W/(m⋅K) | ||||||||||||||
สภาพต้านทานไฟฟ้า | 421 nΩ⋅m (ณ 20 °C) | ||||||||||||||
ความเป็นแม่เหล็ก | พาราแมกเนติก[3] | ||||||||||||||
มอดุลัสของยัง | 88 GPa | ||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | 33 GPa | ||||||||||||||
Bulk modulus | 91.1 GPa | ||||||||||||||
Speed of sound thin rod | 3800 m/s (ณ 20 °C) | ||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซง | 0.34 | ||||||||||||||
Mohs hardness | 5.0 | ||||||||||||||
Vickers hardness | 820–1800 MPa | ||||||||||||||
Brinell hardness | 638–1880 MPa | ||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-67-7 | ||||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||||
การตั้งชื่อ | ตั้งชื่อตาม zircon, zargun زرگون หมายถึง"สีทอง". | ||||||||||||||
การค้นพบ | มาร์ทีน ไฮน์ริช คลัพโรท (1789) | ||||||||||||||
การแยกให้บริสุทธิ์เป็นครั้งแรก | บารอน เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส (1824) | ||||||||||||||
ไอโซโทปของเซอร์โคเนียม | |||||||||||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของเซอร์โคเนียม | |||||||||||||||
เซอร์โคเนียมในรูปของออกไซด์ค้นพบโดย มาร์ทีน คลัพโรท ในปี ค.ศ. 1789 ขณะที่ทำการศึกษาแร่ zircon ซึ่งเป็นซิลิเกตของเซอร์โคเนียม, (ZrSiO
4) ในรูปของพลอย (gemstone) จากซีลอน พลอย zircon มีชื่อมาจากภาษาอาหรับ zargum หมายถึงสีทองคำ และ มาร์ทีน คลัพโรท ตั้งชื่อธาตุนี้ว่า zirconium
ในปี ค.ศ. 1824 เจ. เจ. แบร์ซีเลียส สามารถสกัดธาตุนี้ได้ในรูปธาตุอิสระจากการนำ K
2ZrF
6 มา รีดิวซ์ด้วยโพแทสเซียม (K)
ประโยชน์
แก้- เซอร์โคเนียมใช้ประโยชน์ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทำหน้าที่เป็นตัวดูดซับนิวตรอนและทำโลหะผสมที่ทนต่อการกัดกร่อน
- เซอร์โคเนียมไฮดรอกซีคลอไรด์ (ClHOZr) ใช้เป็นยาระงับกลิ่นกาย
- เพทาย หรือ เซอร์โคเนียมซิลิเกต (ZrSiO
4) ใช้เป็นเครื่องประดับ
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เซอร์โคเนียม
วิกิพจนานุกรม มีความหมายของคำว่า zirconium
- WebElements.com: Zirconium
- Chemistry in its element podcast (MP3) from the Royal Society of Chemistry's Chemistry World: Zirconium
- ↑ "Standard Atomic Weights: Zirconium". CIAAW. 1983.
- ↑ "Zirconium: zirconium(I) fluoride compound data". OpenMOPAC.net. สืบค้นเมื่อ 2007-12-10.
- ↑ Lide, D. R., บ.ก. (2005). "Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds". CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-03. สืบค้นเมื่อ 2022-10-16.
{{cite book}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ Pritychenko, Boris; Tretyak, V. "Adopted Double Beta Decay Data". National Nuclear Data Center. สืบค้นเมื่อ 2008-02-11.