ตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
ตำแหน่งของโลหะทรานซิชันในตารางธาตุ

ในทางเคมี คำว่า โลหะทรานซิชัน (อังกฤษ: transition metal) มีนิยามที่เป็นไปได้ 3 แบบ:

  • คำนิยามของIUPAC[1] นิยามว่า โลหะทรานซิชันเป็น "ธาตุที่อะตอมเติมเต็มเปลือกอิเล็กตรอนชั้นดีบางส่วน หรือสามารถเพิ่มไอออนบวกให้กับเปลือกอิเล็กตรอนชั้นดีที่ไม่สมบูรณ์"
  • นักวิทยาศาสตร์หลายคนระบุ "โลหะทรานซิชัน" ว่าเป็นธาตุใด ๆ ก็ตามในตารางธาตุส่วนบล็อก-ดี ซึ่งประกอบด้วยตารางธาตุกลุ่ม 3 ถึง 12[2][3] ในเชิงปฏิบัติ ชุดแลนทาไนด์และแอกทิไนด์ในบล็อก-เอฟก็ถือเป็นโลหะทรานซิชัน และมีชื่อเรียกว่า "โลหะทรานซิชันภายใน"
  • Cotton และ Wilkinson[4] ขยายคำนิยามย่อของ IUPAC (ดูข้างบน) ด้วยการระบุธาตุจำเพาะ เช่นเดียวกันกับธาตุในกลุ่มที่ 4 ถึง 11 ทั้งสองได้เพิ่มสแกนเดียมและอิตเทรียมในกลุ่มที่ 3 ลงไปในนี้ด้วย ในขณะที่แลนทาไนด์และแอกทิไนด์ ซึ่งถือเป็นธาตุกลุ่มที่ 3 ถูกจัดเป็นชุดแลนทาไนด์และแอกทิไนด์ต่างหากตามลำดับ

Charles Rugeley Bury (1890–1968) นักเคมีชาวอังกฤษ เป็นคนใช้คำว่า ทรานซิชัน ในความหมายนี้คนแรกใน ค.ศ. 1921 เมื่อเขาสื่อถึง ชุดทรานซิชันของธาตุในช่วงการเปลี่ยนแปลงของอิเล็กตรอนชั้นใน (เช่น n = 3 ในแถวที่ 4 ของตารางธาตุ) จากกลุ่มคงทน (stable group) ของหมู่ที่ 8 ถึงธาตุหนึ่งในช่วงธาตุ 18 หรือจากธาตุที่ 18 ถึง 32[5][6][7] ธาตุเหล่านี้มีอีกชื่อว่า บล็อก-ดี (d-block)

โลหะทรานซิชันคาบแรกตามลำดับ

ธาตุทรานซิชัน

แก้

โลหะทรานซิชันมีทั้งหมด 40 ตัว จะประกอบด้วยธาตุที่มีเลขอะตอมดังนี้ 21 ถึง 30,39 ถึง 48,71 ถึง 80, และ 103 ถึง 112 ชื่อ "ทรานซิชัน" มาจากตำแหน่งของมันในตารางธาตุทั้ง 4 คาบที่มันอยู่ ธาตุเหล่านี้จะแทนการเพิ่มจำนวนอิเล็กตรอนเข้าไปอยู่ในวงโคจร ดี ของอะตอม (atomic orbital) ด้วยเหตุนี้ โลหะทรานซิชันจึงมีความหมายถึงการส่งผ่าน (transition) ของธาตุหมู่ 2 และหมู่ 13

โลหะทรานซิชันในบล็อก-ดี
หมู่ 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
คาบ 4 21Sc 22Ti 23V 24Cr 25Mn 26Fe 27Co 28Ni 29Cu 30Zn
5 39Y 40Zr 41Nb 42Mo 43Tc 44Ru 45Rh 46Pd 47Ag 48Cd
6 71Lu 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg
7 103Lr 104Rf 105Db 106Sg 107Bh 108Hs 109Mt 110Ds 111Rg 112Cn

สมบัติของโลหะทรานซิชัน

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. IUPAC, Compendium of Chemical Terminology, 2nd ed. (the "Gold Book") (1997). Online corrected version:  (2006-) "transition element".
  2. Petrucci, Ralph H.; Harwood, William S.; Herring, F. Geoffrey (2002). General chemistry: principles and modern applications (8th ed.). Upper Saddle River, N.J: Prentice Hall. pp. 341–342. ISBN 978-0-13-014329-7. LCCN 2001032331. OCLC 46872308.
  3. Housecroft, C. E. and Sharpe, A. G. (2005) Inorganic Chemistry, 2nd ed, Pearson Prentice-Hall, pp. 20–21.
  4. Cotton, F. A. and Wilkinson, G. (1988) Inorganic Chemistry, 5th ed., Wiley, pp. 625–627. ISBN 978-0-471-84997-1.
  5. Jensen, William B. (2003). "The Place of Zinc, Cadmium, and Mercury in the Periodic Table" (PDF). Journal of Chemical Education. 80 (8): 952–961. Bibcode:2003JChEd..80..952J. doi:10.1021/ed080p952.
  6. Bury, C. R. (1921). "Langmuir's theory of the arrangement of electrons in atoms and molecules". J. Am. Chem. Soc. 43 (7): 1602–1609. doi:10.1021/ja01440a023.
  7. Bury, Charles Rugeley. Encyclopedia.com Complete dictionary of scientific biography (2008).