เรดอน

(เปลี่ยนทางจาก Radon)
เรดอน
แอสทาทีน ← → แฟรนเซียม
Xe

Rn

Og
ไฮโดรเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ฮีเลียม (แก๊สมีตระกูล)
ลิเทียม (โลหะแอลคาไล)
เบริลเลียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
โบรอน (ธาตุกึ่งโลหะ)
คาร์บอน (อโลหะหลายวาเลนซ์)
ไนโตรเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ออกซิเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ฟลูออรีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
นีออน (แก๊สมีตระกูล)
โซเดียม (โลหะแอลคาไล)
แมกนีเซียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
อะลูมิเนียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ซิลิกอน (ธาตุกึ่งโลหะ)
ฟอสฟอรัส (อโลหะหลายวาเลนซ์)
กำมะถัน (อโลหะหลายวาเลนซ์)
คลอรีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
อาร์กอน (แก๊สมีตระกูล)
โพแทสเซียม (โลหะแอลคาไล)
แคลเซียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
สแกนเดียม (โลหะทรานซิชัน)
ไทเทเนียม (โลหะทรานซิชัน)
วาเนเดียม (โลหะทรานซิชัน)
โครเมียม (โลหะทรานซิชัน)
แมงกานีส (โลหะทรานซิชัน)
เหล็ก (โลหะทรานซิชัน)
โคบอลต์ (โลหะทรานซิชัน)
นิกเกิล (โลหะทรานซิชัน)
ทองแดง (โลหะทรานซิชัน)
สังกะสี (โลหะทรานซิชัน)
แกลเลียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
เจอร์เมเนียม (ธาตุกึ่งโลหะ)
สารหนู (ธาตุกึ่งโลหะ)
ซีลีเนียม (อโลหะหลายวาเลนซ์)
โบรมีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
คริปทอน (แก๊สมีตระกูล)
รูบิเดียม (โลหะแอลคาไล)
สตรอนเชียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
อิตเทรียม (โลหะทรานซิชัน)
เซอร์โคเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ไนโอเบียม (โลหะทรานซิชัน)
โมลิบดีนัม (โลหะทรานซิชัน)
เทคนีเชียม (โลหะทรานซิชัน)
รูทีเนียม (โลหะทรานซิชัน)
โรเดียม (โลหะทรานซิชัน)
แพลเลเดียม (โลหะทรานซิชัน)
เงิน (โลหะทรานซิชัน)
แคดเมียม (โลหะทรานซิชัน)
อินเดียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ดีบุก (โลหะหลังทรานซิชัน)
พลวง (ธาตุกึ่งโลหะ)
เทลลูเรียม (ธาตุกึ่งโลหะ)
ไอโอดีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ซีนอน (แก๊สมีตระกูล)
ซีเซียม (โลหะแอลคาไล)
แบเรียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
แลนทานัม (แลนทานอยด์)
ซีเรียม (แลนทานอยด์)
เพรซีโอดิเมียม (แลนทานอยด์)
นีโอดิเมียม (แลนทานอยด์)
โพรมีเทียม (แลนทานอยด์)
ซาแมเรียม (แลนทานอยด์)
ยูโรเพียม (แลนทานอยด์)
แกโดลิเนียม (แลนทานอยด์)
เทอร์เบียม (แลนทานอยด์)
ดิสโพรเซียม (แลนทานอยด์)
โฮลเมียม (แลนทานอยด์)
เออร์เบียม (แลนทานอยด์)
ทูเลียม (แลนทานอยด์)
อิตเทอร์เบียม (แลนทานอยด์)
ลูทีเทียม (แลนทานอยด์)
ฮาฟเนียม (โลหะทรานซิชัน)
แทนทาลัม (โลหะทรานซิชัน)
ทังสเตน (โลหะทรานซิชัน)
รีเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ออสเมียม (โลหะทรานซิชัน)
อิริเดียม (โลหะทรานซิชัน)
แพลตทินัม (โลหะทรานซิชัน)
ทองคำ (โลหะทรานซิชัน)
ปรอท (โลหะทรานซิชัน)
แทลเลียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ตะกั่ว (โลหะหลังทรานซิชัน)
บิสมัท (โลหะหลังทรานซิชัน)
พอโลเนียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
แอสทาทีน (ธาตุกึ่งโลหะ)
เรดอน (แก๊สมีตระกูล)
แฟรนเซียม (โลหะแอลคาไล)
เรเดียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
แอกทิเนียม (แอกทินอยด์)
ทอเรียม (แอกทินอยด์)
โพรแทกทิเนียม (แอกทินอยด์)
ยูเรเนียม (แอกทินอยด์)
เนปทูเนียม (แอกทินอยด์)
พลูโทเนียม (แอกทินอยด์)
อะเมริเซียม (แอกทินอยด์)
คูเรียม (แอกทินอยด์)
เบอร์คีเลียม (แอกทินอยด์)
แคลิฟอร์เนียม (แอกทินอยด์)
ไอน์สไตเนียม (แอกทินอยด์)
เฟอร์เมียม (แอกทินอยด์)
เมนเดลีเวียม (แอกทินอยด์)
โนเบเลียม (แอกทินอยด์)
ลอว์เรนเซียม (แอกทินอยด์)
รัทเทอร์ฟอร์เดียม (โลหะทรานซิชัน)
ดุบเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ซีบอร์เกียม (โลหะทรานซิชัน)
โบห์เรียม (โลหะทรานซิชัน)
ฮัสเซียม (โลหะทรานซิชัน)
ไมต์เนเรียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ดาร์มสตัดเทียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
เรินต์เกเนียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
โคเปอร์นิเซียม (โลหะทรานซิชัน)
นิโฮเนียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ฟลีโรเวียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
มอสโกเวียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ลิเวอร์มอเรียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
เทนเนสซีน (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ออกาเนสซอน (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
อูนอูนเอนเนียม (โลหะแอลคาไล (ทำนายไว้))
อูนไบนิลเลียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (ทำนายไว้))
อูนควอดอันเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเบียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเทรียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดควอเดียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเพนเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเฮกเซียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเซปเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดออกเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดเอนเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์นิลเลียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์อันเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เบียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เทรียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์ควอเดียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เพนเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เฮกเซียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เซปเทียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเพนท์ออกเทียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเพนท์เอนเนียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์นิลเลียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์อันเนียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เบียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เทรียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์ควอเดียม (โลหะทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เพนเทียม (โลหะแอลคาไล (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เฮกเซียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เซปเทียม (โลหะหลังทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์ออกเทียม (โลหะหลังทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเฮกซ์เอนเนียม (โลหะหลังทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเซปท์นิลเลียม (โลหะหลังทรานซิชัน (ทำนายไว้))
อูนเซปท์อันเนียม (อโลหะวาเลนซ์เดียว (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เบียม (แก๊สมีตระกูล (ทำนายไว้))
อูนไบอันเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเบียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเทรียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบควอเดียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเพนเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเฮกเซียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเซปเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบออกเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไบเอนเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรนิลเลียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรอันเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเบียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเทรียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรควอเดียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเพนเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเฮกเซียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเซปเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรออกเทียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนไทรเอนเนียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนควอดนิลเลียม (ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เทรียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์ควอเดียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เพนเทียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เฮกเซียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เซปเทียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์ออกเทียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนเซปท์เอนเนียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์นิลเลียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์อันเนียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์เบียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์เทรียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
อูนออกท์ควอเดียม (เอคา-ซูเปอร์แอกทิไนด์ (ทำนายไว้))
ทั่วไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม เรดอน, Rn, 86
อนุกรมเคมี แก๊สมีสกุล
หมู่, คาบ, บล็อก 18, 6, p
ลักษณะ ไม่มีสี
มวลอะตอม (222) กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Xe] 4f14 5d10 6s2 6p6
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 2, 8, 18, 32, 18, 8
คุณสมบัติทางกายภาพ
สถานะ แก๊ส
จุดหลอมเหลว 202 K
(-71 °C)
จุดเดือด 211.3 K(-61.7 °C)
ความร้อนของการหลอมเหลว 3.247 กิโลจูล/โมล
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 18.10 กิโลจูล/โมล
ความร้อนจำเพาะ (25 °C) 20.786 J/(mol·K)
ความดันไอ
P/Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T K 110 121 134 152 176 211
คุณสมบัติของอะตอม
โครงสร้างผลึก cubic face centered
สถานะออกซิเดชัน 0
อิเล็กโตรเนกาติวิตี no data (พอลิงสเกล)
พลังงานไอออไนเซชัน ระดับที่ 1: 1037 กิโลจูล/โมล
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 120 pm
รัศมีโควาเลนต์ 145 pm
อื่น ๆ
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก nonmagnetic
การนำความร้อน (300 K) 3.61 mW/(m·K)
เลขทะเบียน CAS 10043-92-2
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของเรดอน
iso NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
211Rn syn 14.6 h Epsilon 2.892 211At
Alpha 5.965 207Po
222Rn 100% 3.824 d Alpha 5.590 218Po
แหล่งอ้างอิง

เรดอน (อังกฤษ: radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน

เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพเกิดพร้อมโลกที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว

ลักษณะ

แก้

คุณสมบัติทางกายภาพ

แก้

เรดอนจัดเป็นก๊าซเฉื่อยที่ไร้รส สี และกลิ่น ไม่สามารถตรวจจับได้ด้วยผัสสะสัมผัสของมนุษย์ ในอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน เรดอนจะมีสภาพเป็นก๊าซอะตอมเดี่ยวที่มีความหนาแน่นเท่ากับ 9.73 กิโลกรัม/เมตร3,[1] มากกว่าความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศโลกที่ระดับน้ำทะเลประมาณ 8 เท่า [2]

เรดอนจะสามารถสังเกตเห็นได้เมื่อนำไปแช่เย็นในอุณหภูมิที่ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง ซึ่งจะเปล่งแสงเป็นสีเหลืองไปถึงแดงส้มแปรผันตามอุณหภูมิที่ลดลง [3] [4] ด้วยสาเหตุจากการแผ่รังสีที่เข้มข้นขึ้น [5]

เรดอนสามารถละลายในน้ำได้ ซึ่งสามารถละลายได้มากกว่าเมื่อเทียบกับแก๊สมีสกุลชนิดอื่น และละลายได้ดีกว่าในของเหลวชีวภาพเมื่อเทียบกับการละลายในน้ำ

คุณสมบัติทางเคมี

แก้

เรดอนจัดเป็นสมาชิกของกลุ่มธาตุวาเลนซ์เป็นศูนย์หรือถูกเรียกว่ากลุ่มแก๊สมีสกุล ในการดึงอีเล็กตรอนหนึ่งๆออกจากเปลือกต้องใช้พลังงานไอออไนเซชัน 1037 กิโลจูล/โมล [6] เรดอนมีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีต่ำกว่าซีนอนอ้างอิงจากตารางธาตุ ดังนั้นจีงเกิดปฏิกิริยาได้มากกว่า

การทดลองเกี่ยวกับธาตุเรดอนนั้นมีน้อยเนื่องด้วยปัจจัยทางด้านค่าใช้จ่ายที่สูงกอปรกับเป็นธาตุกัมมันตรังสี เรดอนสามารถออกซิไดซ์ได้ด้วยตัวออกซิ ไดซ์ที่มีประสิทธิภาพอย่างฟลูออรีนซึ่งจะทำให้เกิดเรดอนไดฟลูออรีน [7][8] อันสามารถแยกส่วนกลับไปสู่ธาตุเดิมได้ในอุณหภูมิที่มากกว่า 250 องศาเซลเซียส เรดอนมีระดับการระเหยเป็นไอที่ต่ำและถูกเชื่อว่าเป็น RnF
2

เนื่องจากเรดอนมีครึ่งชีวิตที่สั้นและสารประกอบที่มีกัมมันตภาพรังสีจึงทำให้การตรวจสอบรายละเอียดของสารประกอบทำได้ยาก ทำให้มีเพียงข้อตั้งทางทฤษฎีที่คาดว่าเรดอนน่าจะมีระยะระหว่างพันธะ Rn-F เป็น 2.08 Å และสารประกอบมีอุณหพลศาสตร์ที่คงที่และผันผวนน้อยกว่าเมื่อเทียบกับ XeF
2
.[9]

[RnF]+ ไอออน เชื่อว่าก่อตัวขึ้นมาตามรูปแบบนี้:[10]
Rn (g) + 2 [O
2
]+
[SbF
6
]
(s) → [RnF]+
[Sb
2
F
11
]
(s) + 2 O
2
(g)

ไอโซโทป

แก้

เรดอนไม่มีไอโซโทปคงที่ โดยทั่วไปจะมีไอโซโทปกัมมันตรังสี 36 ตัว ที่มีมวลอะตอมตั้งแต่ 193 ถึง 228 ประกอบเข้าด้วยกัน[11] ไอโซโทปตัวคงที่ที่สุดของเรดอนคือ 222Rn อันเป็นไอโซโทปที่ได้จากการสลายตัวของเรเดียม-226 หรือจากการสลายตัวของยูเรเนียม-238 [12] มีไอโซโทป 3 ตัวที่มีครึ่งชีวิตเพียงหนึ่งชั่วโมงกว่าอันได้แก่ 211Rn, 210Rn และ 224Rn

ไอโซโทปตัวอื่นๆที่มีครึ่งชีวิตสั้นได้แก่ 220Rn เป็นไอโซโทปที่ได้จากการสลายตัวของธอเรียม-232 ซึ่งเป็นไอโซโทปตัวคงที่ที่สุดของธาตุธอเรียม เรียกโดยทั่วไปว่า"ธอรอน"อันมีครึ่งชีวิตอยู่ที่ 55.6 วินาทีและยังปล่อยรังสีอัลฟาออกมา เช่นเดียวกับ 219Rn ที่เป็นผลผลิตจากไอโซโทปของธาตุแอคติเนียมตัวที่ 227 ซึ่งเป็นไอโซโทปตัวคงที่ที่สุด เรียกโดยทั่วไปว่า"แอคตินอน"อันมีครึ่งชีวิตอยู่ที่ 3.96 วินาทีและปล่อยรังสีอัลฟาเช่นกัน

นิรุกติศาสตร์

แก้

ในตอนแรกเรดอนมีหลายชื่อที่ใช้เรียก โดย "เอ็กซ์ราดิโอ"ถูกใช้เรียกในช่วงปีคริสต์ศักราช 1904 [13] และต่อมาได้มีการเสนอชื่อให้ใช้"เรดอน"ในปีคริสต์ศักราช 1918 [14] และ"เรดิออน"ในปีคริสต์ศักราช 1919 [15] แต่ในท้ายที่สุดแล้ว เรดอนก็ถูกเลือกให้เป็นชื่อที่ใช้เรียกแก๊ซชนิดนี้ตั้งแต่ปีคริสต์ศักราช 1920 [16] และในปีคริสต์ศักราช 1923 คณะกรรมการจาก IUPAC ได้คัดเลือกให้ใช้ชื่อเรดอนธาตุนี้

ประวัติ

แก้

เรดอนจัดเป็นธาตุกัมมันตรังสีธาตุที่ 5  ที่มีการค้นพบถัดจากยูเรเนียม ธอเรียม เรเดียม และ โปโลเนียม ย้อนกลับไปในช่วงปีคริสต์ศักราช 1900  เฟเดอริช เอิร์นส์ ดอร์นได้ให้รายงานเกี่ยวกับการทดลองว่าด้วยเรื่องส่วนประกอบของธาตุเรเดียมได้ปล่อยแก๊ซกัมมันตภาพรังสีออกมา ซึ่งเขาเรียกมันว่า เรเดียม อีมาเนชัน(Ra Em)[17] ซึ่งก่อนหน้าที่จะมีรายงานของดอร์ม ปิแอร์ คูรี และ มารี คูรี ได้สังเกตเห็นว่ามีมีก๊าซถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการสลายตัวของเรเดียม และคงกัมมันตภาพรังสีเป็นเวลานานนับเดือน ในช่วงปีคริสต์ศักราช 1899[18]

ในปีคริสต์ศักราช 1910 เซอร์ วิลเลียม แรมซี และ โรเบิร์ต วิทลอว์-เกรย์ แยกเรดอนได้สำเร็จ  และประมาณค่าความหนาแน่นและให้ประมาณค่าเรดอนว่าเป็นก๊าซที่หนักที่สุดเท่าที่เคยค้นพบ [19] ซึ่งผลที่ได้นี้ได้รับการรับรองจาก CIAAW ในปีคริสต์ศักราช 1912

การปรากฏ

แก้

เรดอนก่อตัวขึ้นจากกระบวนการสลายตัวของเรเดียม-226 ซึ่งพบได้ในแร่ยูเรเนียม หินฟอสเฟต หินดินดาน หินอัคนี หินแปรบางชนิดอย่างหินแกรนิต หินไนส์ เป็นต้น และหินทั่วๆไปอย่างเช่นหินอ่อนเองบางทีก็มีเรเดียม-226 เป็นส่วนประกอบอยู่ แต่มักจะพบในปริมาณที่น้อย [20]

ในบริเวณ1ตารางไมล์บนพื้นผิวของโลก ลึกลงไป 6-15 นิ้ว จะมีธาตุเรเดียมอยู่ประมาณ 1 กรัม ซึ่งจะปล่อยก๊าซเรดอนในปริมาณไม่มากออกมาสู่ชั้นบรรยากาศของโลก [21]

ด้วยเหตุนี้ทำให้สามารถพบเรดอนได้ในหลายๆที่ด้วยกันบนภาคพื้นดินในปริมาณตั้งแต่ 1 ถึง 100 แบ็กแรล/เมตร3 และเหนือผิวมหาสมุทรประมาณ 0.1 แบ็กแรล/เมตร3 แต่จะสามารถตรวจพบได้ในปริมาณที่มากในเขตเหมืองและถ้ำ โดยปริมาณที่ตรวจพบมีประมาณตั้งแต่ 20 ไปจนถึง 2,000 แบ็กแรล/เมตร3.[22]

อ้างอิง

แก้
  1. "Radon". All Measures. 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-09. สืบค้นเมื่อ 2008-02-12.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  2. Williams, David R. (2007-04-19). "Earth Fact Sheet". NASA. สืบค้นเมื่อ 2008-06-26.
  3. "Radon". Jefferson Lab. สืบค้นเมื่อ 2008-06-26.
  4. Thomas, Jens (2002). Noble Gases. Marshall Cavendish. p. 13. ISBN 978-0-7614-1462-9.
  5. Thomas, Jens (2002). Noble Gases. Marshall Cavendish. p. 13. ISBN 978-0-7614-1462-9.
  6. David R. Lide (2003). "Section 10, Atomic, Molecular, and Optical Physics; Ionization Potentials of Atoms and Atomic Ions". CRC Handbook of Chemistry and Physics (84th ed.). Boca Raton, Florida: CRC Press.
  7. Stein, L. (1970). "Ionic Radon Solution". Science. 168 (3929): 362–4. Bibcode:1970Sci...168..362S. doi:10.1126/science.168.3929.362. PMID 17809133.
  8. Pitzer, Kenneth S. (1975). "Fluorides of radon and element 118". J. Chem. Soc., Chem. Commun. (18): 760–1. doi:10.1039/C3975000760b.
  9. Meng- Sheng Liao; Qian- Er Zhang (1998). "Chemical Bonding in XeF2, XeF4, KrF2, KrF4, RnF2, XeCl2, and XeBr2: From the Gas Phase to the Solid State". The Journal of Physical Chemistry A. 102 (52): 10647. doi:10.1021/jp9825516.
  10. Holloway, J (1986). "Noble-gas fluorides". Journal of Fluorine Chemistry. 33: 149. doi:10.1016/S0022-1139(00)85275-6.
  11. Sonzogni, Alejandro. "Interactive Chart of Nuclides". National Nuclear Data Center: Brookhaven National Laboratory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-10. สืบค้นเมื่อ 2008-06-06.
  12. "Principal Decay Scheme of the Uranium Series". Gulflink.osd.mil. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-25. สืบค้นเมื่อ 2008-09-12.
  13. Ramsay, Sir William; Collie, J. Normal (1904). "The Spectrum of the Radium Emanation". Proceedings of the Royal Society. 73 (488–496): 470–6. doi:10.1098/rspl.1904.0064.
  14. Schmidt, Curt (1918). "Periodisches System und Genesis der Elemente". Z. Anorg. Ch. 103: 79–118. doi:10.1002/zaac.19181030106.
  15. Perrin, J (1919). "Radon". Ann. Physique. 11: 5.
  16. Adams, Elliot Quincy (1920). "The Independent Origin of Actinium". J. Amer. Chem. Soc. 42 (11): 2205. doi:10.1021/ja01456a010.
  17. Dorn, Friedrich Ernst (1900). "Ueber die von radioaktiven Substanzen ausgesandte Emanation". Abhandlungen der Naturforschenden Gesellschaft zu Halle. Stuttgart. 22: 155.
  18. Curie, P.; Curie, Mme. Marie (1899). "Sur la radioactivite provoquee par les rayons de Becquerel". Comptes rendus hebdomadaires des séances de l'Académie des sciences. 129: 714–6.
  19. Ramsay, W.; Gray, R. W. (1910). "La densité de l'emanation du radium". Comptes rendus hebdomadaires des seances de l'Academie des sciences. 151: 126–8.
  20. Thad. Godish, (2001) . "Indoor Environment Quality". Boca Raton, FL. CRC Press LLC.
  21. J. H. Harley (1975). Noble gases. U.S. Environmental Protection Agency. pp. 109–114.
  22. Sperrin, Malcolm; Gillmore, Gavin; Denman, Tony (2001). "Radon concentration variations in a Mendip cave cluster". Environmental Management and Health. 12 (5): 476. doi:10.1108/09566160110404881.