คูเรียม (อังกฤษ: Curium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 96 และสัญลักษณ์คือ Cm คูเรียมเป็นธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสี เป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นโดยการยิงพลูโตเนียมด้วยอนุภาคแอลฟ่า (ฮีเลียมไอออน) คูเรียมเป็นธาตุในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide) คูเรียมตั้งชื่อตามมารี กูรีและสามีของเธอ ปิแอร์ กูรี

คูเรียม
ไฮโดรเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ฮีเลียม (แก๊สมีตระกูล)
ลิเทียม (โลหะแอลคาไล)
เบริลเลียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
โบรอน (ธาตุกึ่งโลหะ)
คาร์บอน (อโลหะหลายวาเลนซ์)
ไนโตรเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ออกซิเจน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ฟลูออรีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
นีออน (แก๊สมีตระกูล)
โซเดียม (โลหะแอลคาไล)
แมกนีเซียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
อะลูมิเนียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ซิลิกอน (ธาตุกึ่งโลหะ)
ฟอสฟอรัส (อโลหะหลายวาเลนซ์)
กำมะถัน (อโลหะหลายวาเลนซ์)
คลอรีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
อาร์กอน (แก๊สมีตระกูล)
โพแทสเซียม (โลหะแอลคาไล)
แคลเซียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
สแกนเดียม (โลหะทรานซิชัน)
ไทเทเนียม (โลหะทรานซิชัน)
วาเนเดียม (โลหะทรานซิชัน)
โครเมียม (โลหะทรานซิชัน)
แมงกานีส (โลหะทรานซิชัน)
เหล็ก (โลหะทรานซิชัน)
โคบอลต์ (โลหะทรานซิชัน)
นิกเกิล (โลหะทรานซิชัน)
ทองแดง (โลหะทรานซิชัน)
สังกะสี (โลหะทรานซิชัน)
แกลเลียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
เจอร์เมเนียม (ธาตุกึ่งโลหะ)
สารหนู (ธาตุกึ่งโลหะ)
ซีลีเนียม (อโลหะหลายวาเลนซ์)
โบรมีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
คริปทอน (แก๊สมีตระกูล)
รูบิเดียม (โลหะแอลคาไล)
สตรอนเชียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
อิตเทรียม (โลหะทรานซิชัน)
เซอร์โคเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ไนโอเบียม (โลหะทรานซิชัน)
โมลิบดีนัม (โลหะทรานซิชัน)
เทคนีเชียม (โลหะทรานซิชัน)
รูทีเนียม (โลหะทรานซิชัน)
โรเดียม (โลหะทรานซิชัน)
แพลเลเดียม (โลหะทรานซิชัน)
เงิน (โลหะทรานซิชัน)
แคดเมียม (โลหะทรานซิชัน)
อินเดียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ดีบุก (โลหะหลังทรานซิชัน)
พลวง (ธาตุกึ่งโลหะ)
เทลลูเรียม (ธาตุกึ่งโลหะ)
ไอโอดีน (อโลหะวาเลนซ์เดียว)
ซีนอน (แก๊สมีตระกูล)
ซีเซียม (โลหะแอลคาไล)
แบเรียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
แลนทานัม (แลนทานอยด์)
ซีเรียม (แลนทานอยด์)
เพรซีโอดิเมียม (แลนทานอยด์)
นีโอดิเมียม (แลนทานอยด์)
โพรมีเทียม (แลนทานอยด์)
ซาแมเรียม (แลนทานอยด์)
ยูโรเพียม (แลนทานอยด์)
แกโดลิเนียม (แลนทานอยด์)
เทอร์เบียม (แลนทานอยด์)
ดิสโพรเซียม (แลนทานอยด์)
โฮลเมียม (แลนทานอยด์)
เออร์เบียม (แลนทานอยด์)
ทูเลียม (แลนทานอยด์)
อิตเทอร์เบียม (แลนทานอยด์)
ลูทีเทียม (แลนทานอยด์)
ฮาฟเนียม (โลหะทรานซิชัน)
แทนทาลัม (โลหะทรานซิชัน)
ทังสเตน (โลหะทรานซิชัน)
รีเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ออสเมียม (โลหะทรานซิชัน)
อิริเดียม (โลหะทรานซิชัน)
แพลตทินัม (โลหะทรานซิชัน)
ทองคำ (โลหะทรานซิชัน)
ปรอท (โลหะทรานซิชัน)
แทลเลียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
ตะกั่ว (โลหะหลังทรานซิชัน)
บิสมัท (โลหะหลังทรานซิชัน)
พอโลเนียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
แอสทาทีน (ธาตุกึ่งโลหะ)
เรดอน (แก๊สมีตระกูล)
แฟรนเซียม (โลหะแอลคาไล)
เรเดียม (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท)
แอกทิเนียม (แอกทินอยด์)
ทอเรียม (แอกทินอยด์)
โพรแทกทิเนียม (แอกทินอยด์)
ยูเรเนียม (แอกทินอยด์)
เนปทูเนียม (แอกทินอยด์)
พลูโทเนียม (แอกทินอยด์)
อะเมริเซียม (แอกทินอยด์)
คูเรียม (แอกทินอยด์)
เบอร์คีเลียม (แอกทินอยด์)
แคลิฟอร์เนียม (แอกทินอยด์)
ไอน์สไตเนียม (แอกทินอยด์)
เฟอร์เมียม (แอกทินอยด์)
เมนเดลีเวียม (แอกทินอยด์)
โนเบเลียม (แอกทินอยด์)
ลอว์เรนเซียม (แอกทินอยด์)
รัทเทอร์ฟอร์เดียม (โลหะทรานซิชัน)
ดุบเนียม (โลหะทรานซิชัน)
ซีบอร์เกียม (โลหะทรานซิชัน)
โบห์เรียม (โลหะทรานซิชัน)
ฮัสเซียม (โลหะทรานซิชัน)
ไมต์เนเรียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ดาร์มสตัดเทียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
เรินต์เกเนียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
โคเปอร์นิเซียม (โลหะทรานซิชัน)
นิโฮเนียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ฟลีโรเวียม (โลหะหลังทรานซิชัน)
มอสโกเวียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ลิเวอร์มอเรียม (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
เทนเนสซีน (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
ออกาเนสซอน (ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี)
คูเรียมมีโครงสร้างผลึกแบบเฮกซะโกนัลปิดบรรจุ
ชั้นพลังงานอิเล็กตรอนของคูเรียม (2, 8, 18, 32, 25, 9, 2)
96Cm
Gd

Cm

(Uqo)
อะเมริเซียมคูเรียมเบอร์คีเลียม
คูเรียมในตารางธาตุ
ลักษณะปรากฏ
โลหะสีเงิน
คุณสมบัติทั่วไป
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม คูเรียม, Cm, 96
การออกเสียง /ˈkjʊəriəm/
kewr-ee-əm
อนุกรมเคมี แอกทิไนด์
หมู่ คาบและบล็อก n/a, 7, f
มวลอะตอมมาตรฐาน (247)
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Rn] 5f7 6d1 7s2
2, 8, 18, 32, 25, 9, 2
ชั้นพลังงานอิเล็กตรอนของคูเรียม (2, 8, 18, 32, 25, 9, 2)
ประวัติ
การตั้งชื่อ ตาม มารี คูรีและปิแอร์ คูรี
การค้นพบ เกลนน์ ที. ซีบอร์ก, ราฟ เอ. เจมส์, อัลเบิร์ต เกอร์โซ (1944)
คุณสมบัติกายภาพ
สถานะ ของแข็ง
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 13.51 g·cm−3
จุดหลอมเหลว 1613 K, 1340 °C, 2444 °F
จุดเดือด 3383 K, 3110 °C, 5630 °F
ความร้อนของการหลอมเหลว ? 15 kJ·mol−1
ความดันไอ
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T (K) 1788 1982        
คุณสมบัติอะตอม
สถานะออกซิเดชัน 4, 3 (amphoteric oxide)
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 1.3 (Pauling scale)
พลังงานไอออไนเซชัน : 581 kJ·mol−1
รัศมีอะตอม 174 pm
รัศมีโควาเลนต์ 169±3 pm
จิปาถะ
โครงสร้างผลึก เฮกซะโกนัลปิดบรรจุ

คูเรียมมีโครงสร้างผลึกแบบเฮกซะโกนัลปิดบรรจุ

ความเป็นแม่เหล็ก แอนติเฟอโรแมกเนติก→พาราแมกเนติก เปลี่ยนที่อุณหภูมิ 52 เคลวิน[1]
สภาพนำไฟฟ้า 1.25[1] µΩ·m
เลขทะเบียน CAS 7440-51-9
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของคูเรียม
ไอโซโทป NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
242Cm trace 160 d SF - -
α 6.1 238Pu
243Cm trace 29.1 y α 6.169 239Pu
ε 0.009 243Am
SF - -
244Cm trace 18.1 y SF - -
α 5.8048 240Pu
245Cm trace 8500 y SF - -
α 5.623 241Pu
246Cm trace 4730 y α 5.475 242Pu
SF - -
247Cm trace 1.56×107 y α 5.353 243Pu
248Cm trace 3.40×105 y α 5.162 244Pu
SF - -
250Cm syn 9000 y SF - -
α 5.169 246Pu
β 0.037 250Bk
อ้างอิง

สารประกอบแก้ไข

สารประกอบคูเรียมมีดังนี้:

  • คูเรียม ไดออกไซด์ (curium dioxide (CmO2)) ,
  • คูเรียม ไทรออกไซด์ (curium trioxide (Cm2O3)) ,
  • คูเรียม ไตรโบรไมด์ (curium bromide (CmBr3)) ,
  • คูเรียม ไตรคลอไรด์ (curium chloride (CmCl3)) ,
  • คูเรียม เททระฟลูออไรด์ (curium tetrafluoride (CmF4))
  • คูเรียม ไตรไอโอไดด์ (curium iodide (CmI3)).
  1. 1.0 1.1 Schenkel, R (1977). "The electrical resistivity of 244Cm metal". Solid State Communications. 23 (6): 389. Bibcode:1977SSCom..23..389S. doi:10.1016/0038-1098(77)90239-3.