โรเดียม

(เปลี่ยนทางจาก Rhodium)

โรเดียม (อังกฤษ: Rhodium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 45 และสัญลักษณ์คือ Rh โรเดียมเป็นโลหะทรานซิชันสีขาวเงินมันวาวที่หายากอยู่ในกลุ่มของแพลทินัม และพบในแร่แพลทินัม ปัจจุบันเป็นโลหะมีค่าที่มีมูลค่าด้านเศรษฐกิจสูงที่สุดหรือราคาแพงที่สุด ซึ่งราคาสูงกว่าทองคำประมาณ 10 เท่า

โรเดียม, 00Rh
โรเดียม
การอ่านออกเสียง/ˈrdiəm/ (ROH-dee-əm)
รูปลักษณ์สีขาวเงินมันวาว
Standard atomic weight Ar°(Rh)
  • 102.90549±0.00002
  • 102.91±0.01 (abridged)[1]
โรเดียมในตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
Co

Rh

Ir
รูทีเนียมโรเดียมแพลเลเดียม
หมู่group 9
คาบคาบที่ 5
บล็อก  บล็อก-d
การจัดเรียงอิเล็กตรอน[Kr] 4d8 5s1
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น2, 8, 18, 16, 1
สมบัติทางกายภาพ
วัฏภาค ณ STPsolid
จุดหลอมเหลว2237 K ​(1964 °C, ​3567 °F)
จุดเดือด3968 K ​(3695 °C, ​6683 °F)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.)12.41 g/cm3
เมื่อเป็นของเหลว (ณ m.p.)10.7 g/cm3
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว26.59 kJ/mol
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ493 kJ/mol
ความจุความร้อนโมลาร์24.98 J/(mol·K)
ความดันไอ
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
at T (K) 2288 2496 2749 3063 3405 3997
สมบัติเชิงอะตอม
เลขออกซิเดชัน−3[2], −1, 0, +1,[3] +2, +3, +4, +5, +6, +7[4] (ออกไซด์เป็นแอมโฟเทริก)
อิเล็กโตรเนกาทิวิตีPauling scale: 2.28
พลังงานไอออไนเซชัน
  • 1st: 719.7 kJ/mol
  • 2nd: 1740 kJ/mol
  • 3rd: 2997 kJ/mol
รัศมีอะตอมempirical: 134 pm
รัศมีโคเวเลนต์142±7 pm
Color lines in a spectral range
Color lines in a spectral range
เส้นสเปกตรัมของโรเดียม
สมบัติอื่น
โครงสร้างผลึกface-centered cubic (fcc)
Cubic face-centered crystal structure for โรเดียม
การขยายตัวจากความร้อน8.2 µm/(m⋅K) (ณ 25 °C)
การนำความร้อน150 W/(m⋅K)
สภาพต้านทานไฟฟ้า43.3 nΩ⋅m (ณ 0 °C)
ความเป็นแม่เหล็กพาราแมกเนติก[5]
Molar magnetic susceptibility+111.0×10−6 cm3/mol (298 K)[6]
มอดุลัสของยัง380 GPa
โมดูลัสของแรงเฉือน150 GPa
Bulk modulus275 GPa
Speed of sound thin rod4700 m/s (ณ 20 °C)
อัตราส่วนปัวซง0.26
Mohs hardness6.0
Vickers hardness1100–8000 MPa
Brinell hardness980–1350 MPa
เลขทะเบียน CAS7440-16-6
ประวัติศาสตร์
การค้นพบและการแยกให้บริสุทธิ์ครั้งแรกWilliam Hyde Wollaston (1804)
ไอโซโทปของโรเดียม
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของโรเดียม
หมวดหมู่ หมวดหมู่: โรเดียม
| แหล่งอ้างอิง

การใช้งาน

แก้
 
แหวนที่เคลือบด้วยโลหะโรเดียม
  • ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะผสมแพลทินัม
  • ใช้เคลือบเครื่องประดับเพื่อให้มีความแวววาว
  • ใช้เป็นสารป้องกันการกัดกร่อนและเป็นตัวนำไฟฟ้า



แหล่งข้อมูล

แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ โรเดียม

  1. "Standard Atomic Weights: Rhodium". CIAAW. 2017.
  2. Ellis J E. Highly Reduced Metal Carbonyl Anions: Synthesis, Characterization, and Chemical Properties. Adv. Organomet. Chem, 1990, 31: 1-51.
  3. "Rhodium: rhodium(I) fluoride compound data". OpenMOPAC.net. สืบค้นเมื่อ 2007-12-10.
  4. Rh(VII) is known in the RhO3+ cation, see Da Silva Santos, Mayara; Stüker, Tony; Flach, Max; Ablyasova, Olesya S.; Timm, Martin; von Issendorff, Bernd; Hirsch, Konstantin; Zamudio‐Bayer, Vicente; Riedel, Sebastian; Lau, J. Tobias (2022). "The Highest Oxidation State of Rhodium: Rhodium(VII) in [RhO3]+". Angew. Chem. Int. Ed. 61 (38): e202207688. doi:10.1002/anie.202207688. PMC 9544489. PMID 35818987.
  5. Lide, D. R., บ.ก. (2005). "Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds". CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-03. สืบค้นเมื่อ 2022-10-17.{{cite book}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  6. Weast, Robert (1984). CRC, Handbook of Chemistry and Physics. Boca Raton, Florida: Chemical Rubber Company Publishing. pp. E110. ISBN 0-8493-0464-4.