โพรมีเทียม
โพรมีเทียม (อังกฤษ: Promethium) ธาตุ มีเลขอะตอม 61 และสัญลักษณ์ Pm เป็นธาตุสังเคราะห์ในกลุ่มแลนทาไนด์ มี 2 อัญรูป โพรมีเทียมไม่มีไอโซโทปที่เสถียร ซึ่งแผ่รังสีเบต้า แต่ไม่แผ่รังสีแกมม่า
โพรมีเทียม | ||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| ||||||||||||||||||||||||||||
โพรมีเทียมในตารางธาตุ | ||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะปรากฏ | ||||||||||||||||||||||||||||
มันวาว | ||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทั่วไป | ||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม | โพรมีเทียม, Pm, 61 | |||||||||||||||||||||||||||
หมู่ คาบและบล็อก | , 6, f | |||||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอมมาตรฐาน | [145] | |||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Xe] 4f5 6s2 2, 8, 18, 23, 8, 2 | |||||||||||||||||||||||||||
ประวัติ | ||||||||||||||||||||||||||||
การค้นพบ | ชาร์ล ดี. คอร์เยล, เจคอบ เอ. มารินสกี, ลอว์เรนซ์ อี. เกรนเดนิน (1945) | |||||||||||||||||||||||||||
ตั้งชื่อโดย | เกรซ แมรี่ คอร์เยล (1945) | |||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติกายภาพ | ||||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 7.26 g·cm−3 | |||||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 1315 K, 1042 °C, 1908 °F | |||||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 3273 K, 3000 °C, 5432 °F | |||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | 7.13 kJ·mol−1 | |||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | 289 kJ·mol−1 | |||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติอะตอม | ||||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | 1.13 (Pauling scale) | |||||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน | ค่าที่ 1: 540 kJ·mol−1 | |||||||||||||||||||||||||||
ค่าที่ 2: 1050 kJ·mol−1 | ||||||||||||||||||||||||||||
ค่าที่ 3: 2150 kJ·mol−1 | ||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | 183 pm | |||||||||||||||||||||||||||
รัศมีโควาเลนต์ | 199 pm | |||||||||||||||||||||||||||
จิปาถะ | ||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | double hexagonal close packed | |||||||||||||||||||||||||||
ความเป็นแม่เหล็ก | paramagnetic | |||||||||||||||||||||||||||
สภาพนำไฟฟ้า | est. 0.75Ω·m | |||||||||||||||||||||||||||
สภาพนำความร้อน | 17.9 W·m−1·K−1 | |||||||||||||||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | 9.0 µm/(m·K) | |||||||||||||||||||||||||||
มอดุลัสของยัง | α form: est. 46 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | α form: est. 18 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงบีบอัด | α form: est. 33 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซอง | α form: est. 0.28 | |||||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-12-2 | |||||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปเสถียรที่สุด | ||||||||||||||||||||||||||||
บทความหลัก: ไอโซโทปของโพรมีเทียม | ||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||
อ้างอิง |
ยูเรนิไนต์ซึ่งเป็นแร่ที่สามารถพบโพรมีเทียมไม่กี่อะตอมจากการเกิดปฏิกิริยาฟิชชั่นตามธรรมชาติของ 238U ได้
การใช้ประโยชน์แก้ไข
- เกลือของโพรมีเทียม เช่น โพรมีเทียม(III) คลอไรด์ เรืองแสงสีน้ำเงินหรือสีเขียวในที่มืดได้ จึงมักใช้ในการทำเรือนนาฬิกาเก่า และเข็มทิศบางชนิด แต่เนื่องจากมีกัมมันตภาพรังสีสูงจึงทำให้ถูกห้ามใช้ผลิต
บทความเกี่ยวกับเคมีนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เคมี |