อูนเฮกซ์เพนเทียม
อูนเฮกซ์เพนเทียม (ละติน: Unhexpentium , อังกฤษ: Unhexpentium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 165 และมีสัญลักษณ์ Uhp
อูนเฮกซ์เพนเทียม | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
รูปลักษณ์ | ไม่ทราบ คาดว่าเป็นของเหลวสีเงิน | |||||
อูนเฮกซ์เพนเทียมในตารางธาตุ | ||||||
| ||||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 32, 50, 32, 18, 0, 1 (ทำนายไว้) | |||||
สมบัติทางกายภาพ | ||||||
วัฏภาค ณ STP | ของเหลว (ตามจุดหลอมเหลวของธาตุในหมู่เดียวกัน)[1] | |||||
จุดหลอมเหลว | 290-292 K (17-19 °C, 62.6-66.2 (ทำนายไว้)[1] °F) | |||||
จุดเดือด | 915-922 K (642-649 °C, 1187.6-1200.2 (ทำนายไว้)[2] °F) | |||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 7 (ทำนายไว้)[1] g/cm3 | |||||
สมบัติเชิงอะตอม | ||||||
เลขออกซิเดชัน | Template:Infobox element/symbol-to-oxidation-state: Symbol "Uhp" not known | |||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: คาดว่า 0.5 | |||||
รัศมีอะตอม | empirical: คาดว่า 250[1] pm | |||||
รัศมีโคเวเลนต์ | คาดว่า 273-284[3] pm | |||||
ไอโซโทปของอูนเฮกซ์เพนเทียม | ||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของอูนเฮกซ์เพนเทียม | ||||||
"อูนเฮกซ์เพนเทียม" เป็นชื่อชั่วคราวในระบบ IUPAC และมีชื่อชั่วคราวอีกชื่อตามพยากรณ์ของดมีตรี เมนเดเลเยฟว่า "เอกา-อูนอูนเอนเนียม" (eka-ununennium) หรือ ดีวิ-แฟรนเซียม (dvi-francium)
การปรากฏ สมบัติ และปฏิกิริยาทางเคมี
แก้คาดว่าอูนเฮกซ์เพนเทียมจะทำปฏิกิริยาที่รุนแรงมากกับน้ำ คาดว่ามีสมบัติเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง สืบเนื่องจากแฟรนเซียม มีจุดหลอมเหลวใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้อง คือ 27 °C ดังนั้นอูนอูนเอนเนียมและอูนเฮกซ์เพนเทียมควรจะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง
สารประกอบ
แก้สารประกอบของอูนเฮกซ์เพนเทียมยังไม่มีใครค้นพบ แต่มันถูกคาดเดาบนพื้นฐานของสารประกอบในหมู่เดียวกัน
- อูนเฮกซ์เพนเทียมออกไซด์ (Uhp2O)
- อูนเฮกซ์เพนเทียมฟลูออไรด์ (UhpF)
- อูนเฮกซ์เพนเทียมคลอไรด์ (UhpCl)
- อูนเฮกซ์เพนเทียมโบรไมด์ (UhpBr)
- อูนเฮกซ์เพนเทียมไอโอไดต์ (UhpI)
- อูนเฮกซ์เพนเทียมแอสทาไทด์ (UhpAt) สารประกอบนี้อาจจะไม่สามารถเกิดขึ้นด้วยความไม่เสถียรของธาตุแอสทาทีน
- อูนเฮกซ์เพนเทียมคาร์บอเนต (Uhp2CO3)
- อูนเฮกซ์เพนเทียมซัลไฟด์ (Uhp2S)
- อูนเฮกซ์เพนเทียมไนเตรต (UhpNO3)
- อูนเฮกซ์เพนเทียมไฮดรอกไซด์ (UhpOH)
ธาตุนี้ยังไม่ถูกค้นพบ
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Haire, Richard G. (2006). "Transactinides and the future elements". ใน Morss; Edelstein, Norman M.; Fuger, Jean (บ.ก.). The Chemistry of the Actinide and Transactinide Elements (3rd ed.). Dordrecht, The Netherlands: Springer Science+Business Media. ISBN 1-4020-3555-1.
{{cite book}}
: CS1 maint: ref duplicates default (ลิงก์) - ↑ 2.0 2.1 Fricke, B.; Waber, J. T. (1971). "Theoretical Predictions of the Chemistry of Superheavy Elements" (PDF). Actinides Reviews. 1: 433–485. สืบค้นเมื่อ 7 August 2013.
- ↑ 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อB&K