ดาวรวงข้าว (Spica /ˈspaɪkə/; α Vir, α Virginis, Alpha Virginis) เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวหญิงสาว (Virgo), ชื่อ Spica ของมันมาจากภาษาลาตินที่ แปลว่า รวงข้าวที่กำกับไว้ในมือซ้าย ดาวรวงข้าวเป็นดาวยักษ์เล็ก และเป็นดาวที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้าในลำดับที่ 15 โดยความส่องสว่างปรากฏอยู่ที่ +1.04 ถึ่ง +0.97 , และมันก็ยังเป็นระบบดาวคู่ที่ซึ่งดวงหนึ่งเป็นดาวยักษ์ฟ้าและเป็นดาวแปรแสงประเภทเบต้าเซบเฟย์ (Beta Cephei Variable)

ดาวรวงข้าว

ภาพของดาวรวงข้าวที่ถ่ายโดย DSS (Digitized Sky Survey)
ข้อมูลสังเกตการณ์
ต้นยุคอ้างอิง J2000      วิษุวัต J2000
กลุ่มดาว กลุ่มดาวหญิงสาว
ไรต์แอสเซนชัน 13h 25m 11.579s
เดคลิเนชัน −11° 09′ 40.75″
ความส่องสว่างปรากฏ (V) +1.04 - +0.97
คุณสมบัติ
ชนิดสเปกตรัมB1V
ดัชนีสี U-B-0.94
ดัชนีสี B-V-0.23
ชนิดดาวแปรแสงดาวแปรแสงประเภทเบต้าเซบเฟย์
มาตรดาราศาสตร์
ความเร็วแนวเล็ง (Rv)+1.0 km/s
การเคลื่อนที่เฉพาะ (μ) RA: −42.35 ± 0.62 mas/yr
Dec.: −30.67 ± 0.37 mas/yr
ระยะทาง250 ± 10 ly
(77 ± 4 pc)
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ (MV)−3.55
รายละเอียด
มวล11.4 [1] M
รัศมี3.74 ± 0.53 [2] R
กำลังส่องสว่าง2254 [3] L
อุณหภูมิ20900 [4] K
ความเร็วในการหมุนตัว (v sin i)165.3±4.5 km/s
อายุ12.5 ล้าน ปี

อ้างอิง แก้

  1. http://www.stellar-database.com/Scripts/search_star.exe?Name=Arcturus
  2. Angular diameters of stars from the Mark III optical interferometer., MOZURKEWICH D.; ARMSTRONG J.T.; HINDSLEY R.B.; QUIRRENBACH A.; HUMMEL C.A.; HUTTER D.J.; JOHNSTON K.J.; HAJIAN A.R.; ELIAS II N.M.; BUSCHER D.F.; SIMON R.S., Astron. J., 126, 2502-2520 (2003)
  3. Based upon the values for temperature and radius in combination with the Stefan–Boltzmann law.
  4. Oxygen abundances in halo giants. V. Giants in the fairly metal-rich globular cluster M 71., SNEDEN C.; KRAFT R.P.; LANGER G.E.; PROSSER C.F.; SHETRONE M.D, Astron. J., 107, 1773-1785 (1994)