หน่วยดาราศาสตร์

หน่วยดาราศาสตร์ (อังกฤษ: astronomical unit; ย่อในภาษาอังกฤษว่า AU หรือ au หรือ a.u. หรือ ua) คือ หน่วยของระยะทาง มีค่า (โดยประมาณ) เท่ากับระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ค่าที่ยอมรับในปัจจุบัน เท่ากับ 149,597,870,691±30 เมตร (ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 93 ล้านไมล์)

หน่วยดาราศาสตร์
เส้นสีเทาคือระยะทางของโลก–ดวงอาทิตย์ ที่มีความยาวเฉลี่ยประมาณ 1 หน่วยดาราศาสตร์
ข้อมูลทั่วไป
ระบบการวัดAstronomical system of units
(ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไอ)
เป็นหน่วยของความยาว
สัญลักษณ์au, ua หรือ AU 
การแปลงหน่วย
1 au, ua หรือ AU ใน ...... มีค่าเท่ากับ ...
   หน่วยเมตริก (ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ)   1.495978707×1011 m
   หน่วยอิมพีเรียล และสหรัฐ   9.2956×107 ไมล์
   หน่วยดาราศาสตร์   4.8481×10−6 pc
   1.5813×10−5 ly

สัญลักษณ์ "ua" ได้รับการเสนอจากสำนัก Bureau International des Poids et Mesures แห่งฝรั่งเศส แต่ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษจะใช้อักษรตัวใหญ่มากกว่า ส่วนสหภาพดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) เสนอให้ใช้ "au" ส่วนมาตรฐานนานาชาติ ISO 31-1 นั้นใช้ "AU"

ตารางเปรียบเทียบระยะทางหน่วยดาราศาสตร์

แก้

ตารางด้านล่างนี้แสดงถึงระยะทางพิจารณาจากหน่วยดาราศาสตร์ ทั้งนี้ระยะทางอาจเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

วัตถุ ระยะทาง (AU) ขนาด คำอธิบายและหมายเหตุ อ้างอิง
โลก 0.0003 - เส้นรอบวงของโลก ณ เส้นศูนย์สูตร (ราว 40075 กิโลเมตร หรือ 24901 ไมล์) -
วินาทีแสง 0.002  - ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 วินาที -
ดวงจันทร์ 0.0026 ระยะทางเฉลี่ยจากโลก -
รัศมีดวงอาทิตย์ 0.005  - radius of the Sun (695500 km, 432450 mi, ~110 times the radius of the Earth or 10 times the average radius of Jupiter) -
Lagrangian point 0.01   - The Lagrangian point L2 is about 1500000 กิโลเมตร (930000 ไมล์) from Earth. Unmanned space missions, such as the James Webb Space Telescope, Planck and Gaia take advantage of this sun-shielded location. [1]
นาทีแสง 0.12   - ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 นาที -
ดาวพุธ 0.39   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวศุกร์ 0.72   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
โลก 1.00   average distance of the Earth's orbit from the Sun (Sunlight travels for 8 minutes and 19 seconds before reaching the Earth.) -
ดาวอังคาร 1.52   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวซีรีส 2.77   average distance from the Sun. The only dwarf planet in the asteroid belt. -
ดาวพฤหัสบดี 5.20   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวบีเทลจุส 5.5    - star's mean diameter (It is a red supergiant with about 1000 solar radii.) -
ชั่วโมงแสง 7.2    - ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ชั่วโมง -
NML Cygni 7.67   - radius of one of the largest known stars -
ดาวเสาร์ 9.58   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวยูเรนัส (ดาวมฤตยู) 19.23   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวเนปจูน (ดาวสมุทร/ดาวเกตุ) 30.10   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
Kuiper belt 30      - begins at roughly that distance from the Sun [2]
นิวฮอไรซันส์ 32.92   - spacecraft's distance from the Sun, ข้อมูลเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 (2015 -07-16) [3]
ดาวพลูโต 39.3    average distance from the Sun (It varies by 9.6 AU due to the dwarf planet's elliptic orbit.) -
Scattered disc 45      - roughly begins at that distance from the Sun (it overlaps with the Kuiper belt.) -
Kuiper belt 50      ± 3 ends at that distance from the Sun -
Eris 67.8    - its semi-major axis -
90377 เซดนา 76      - closest distance from the Sun (perihelion) -
90377 เซดนา 87      - distance from the Sun ข้อมูลเมื่อ 2012 (It is an object of the scattered disc and takes 11400 years to orbit the Sun.) [4]
Termination shock 94      - distance from the Sun of boundary between solar winds/interstellar winds/interstellar medium -
Eris 96.4    - distance from the Sun ข้อมูลเมื่อ 2014 (Eris and its moon are currently the most distant known objects in the Solar System apart from long-period comets and space probes, and roughly three times as far as Pluto.) [5]
Heliosheath 100      - the region of the heliosphere beyond the termination shock, where the solar wind is slowed down, more turbulent and compressed due to the interstellar medium -
วอยเอจเจอร์ 1 125      - ข้อมูลเมื่อ สิงหาคม 2013, the space probe is the furthest human-made object from the Sun. It is traveling at about 3.5 astronomical units per year. [6]
Light-day 173      - distance light travels in one day -
90377 เซดนา 942      - farthest distance from the Sun (aphelion) -
จุดเริ่มต้นขอบเขตชั้นในของเมฆออร์ต 2000      ± 1000 beginning of Hills cloud (It is the inner part of the Oort cloud and shaped like a disc or doughnut.) -
จุบสิ้นสุดขอบเขตชั้นในของเมฆออร์ต 20000      - end of the inner Oort cloud, beginning of outer Oort cloud, which is weakly bound to the Sun and believed to have a spherical shape -
ปีแสง 63241      - ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี (365.25 วัน) -
จุดสิ้นสุด

เมฆออร์ต

75000      ± 25000 distance of the outer limit of Oort cloud from the Sun (estimated, corresponds to 1.2 light-years) -
Parsec 206265      - one parsec (The parsec is defined in terms of the astronomical unit, is used to measure distances beyond the scope of the Solar System and is about 3.26 light-years.) [7]
Hill/Roche sphere 230000      - maximum extent of the Sun's gravitational field, beyond this is true interstellar medium (~3.6 light-years) [8]
ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า 268000      ± 126 ระยะทางจากดาวฤกษ์ที่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุด -
ดาวซิริอุส (ดาวโจร) 544000      - ระยะทางจากดาวฤกษ์ที่สว่างมากที่สุด (ประมาณ 8.6 ปีแสง) -
ดาวบีเทลจุส 40663000      - distance to the star in the constellation of Orion (~643 light-years) -
จุดกึ่งกลาง กาแลคซีทางช้างเผือก 1700000000      - ระยะทางจากดวงอาทิตย์จนถึงจุกกึ่งกลางของ กาแลคซีทางช้างเผือก -
Note: figures in this table are generally rounded, estimates, often rough estimates, and may considerably differ from other sources. Table also includes other units of length for comparison.

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. http://www.esa.int What are Lagrange points, 21 June 2013
  2. Alan Stern; Colwell, Joshua E. (1997), "Collisional Erosion in the Primordial Edgeworth-Kuiper Belt and the Generation of the 30–50 AU Kuiper Gap", The Astrophysical Journal, 490 (2): 879–882, Bibcode:1997ApJ...490..879S, doi:10.1086/304912, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-25, สืบค้นเมื่อ 2015-09-02.
  3. ข้อมูลเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 (2015 -07-16) [1]
  4. AstDys (90377) Sedna Ephemerides, Department of Mathematics, University of Pisa, Italy, สืบค้นเมื่อ 5 May 2011
  5. Chris Peat, Spacecraft escaping the Solar System, Heavens-Above, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-04-27, สืบค้นเมื่อ 25 January 2008
  6. Voyager 1, Where are the Voyagers – NASA Voyager 1
  7. http://www.iau.org, Measuring the Universe–The IAU and astronomical units
  8. Chebotarev, G.A. (1964), "Gravitational Spheres of the Major Planets, Moon and Sun", Soviet Astronomy, 7 (5): 618–622, Bibcode:1964SvA.....7..618C