กองทัพภาคที่ 1

ส่วนกำลังรบของกองทัพบกไทย

กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1) ของกองทัพบกไทย ได้รับการก่อตั้งเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2453 รับผิดชอบพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ตั้งกองบัญชาการที่แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

กองทัพภาคที่ 1
ตราประจำกองทัพภาคที่ 1
ประจำการกองทัพที่ 1 (2453 – 2457, 2471 – 2475, 2491 – 2499)
กองทัพน้อยทหารบกที่ 1 (2457 – 2470)
กองทัพน้อยที่ 1 (2470 – 2471)
ภาคทหารบกที่ 1 (2499 – 2500)
กองทัพภาคที่ 1 (2500 – ปัจจุบัน)
ประเทศ ไทย
ขึ้นต่อพระมหากษัตริย์ไทย
เหล่า กองทัพบกไทย
รูปแบบผสมเหล่า
กำลังรบกองทัพ
ขึ้นกับกองทัพบกไทย
กองบัญชาการถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
วันสถาปนา13 มกราคม
เว็บไซต์https://army1.rta.mi.th/index_Thai.htm
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการปัจจุบันพลโท อมฤต บุญสุยา[1]
ผบ. สำคัญพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน (ผู้บัญชาการคนแรก)
หม่อมเจ้าพันธุประวัติ เกษมสันต์
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์
จอมพล ถนอม กิตติขจร
จอมพล ประภาส จารุเสถียร
พลเอก กฤษณ์ สีวะรา
จอมพล เกรียงไกร อัตตะนันทน์
พลเอก สมทัต อัตตะนันทน์
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ
พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
พลเอก อุดมเดช สีตบุตร
พลเอก ธีรชัย นาควานิช
พลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์
พลเอก ณรงค์พันธ์ จิตต์แก้วแท้
พลเอก เจริญชัย หินเธาว์

ประวัติ

แก้
 
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

กองทัพภาคที่ 1 เป็นกองทัพแรกของกองทัพบก และกองทัพไทย ในการจัดอัตรากําลังตามแบบอย่างการจัดกองทัพของชาติมหาอํานาจตะวันตก สืบเนื่องมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้กรมยุทธบริการ ซึ่งมีหน้าที่ดูแลบังคับบัญชาทหารบกปรับปรุงหน่วยและแบ่งการบังคับบัญชาเพื่อพัฒนากิจการทหารบกให้มีความเจริญก้าวหน้า โดยจัดกําลังรบเป็น 10 กองพลกระจายอยู่ตามมณฑลต่างๆ สําหรับเตรียมความพร้อมในการป้องกันประเทศ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปรับปรุงการจัดอัตรากําลังกองทัพบกใหม่ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดกองพลเป็นกองทัพ ในปี พ.ศ. 2453[2] นับจากวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดกองพลเป็นกองทัพภาคที่ 1 จวบจนปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลา 100 กว่าปีแห่งการสถาปนา และด้วยความรู้ความสามารถ ความซื่อสัตย์ของผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นทุกท่าน ทําให้กองทัพภาคที่ 1 มีเกียรติประวัติดีเด่นตลอดมา ทําให้กําลังพลทุกนายในกองทัพภาคที่ 1 มีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งและพร้อมที่จะเสียสละชีวิตเลือดเนื้อเพื่อปกป้องสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ตัวอย่างวีรกรรมของเหล่าทหารหาญ เช่น กรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส สงครามเกาหลี สมรภูมิเวียดนาม เป็นต้น[3]

หน่วยขึ้นตรง​[4][5]

แก้

ส่วนบัญชาการ

แก้

ส่วนกำลังรบ

แก้

ส่วนสนับสนุนการช่วยรบ

แก้

ส่วนภูมิภาค

แก้

ส่วนช่วยการพัฒนาประเทศ

แก้

รายพระนามและรายนามแม่ทัพภาค

แก้
รายพระนามและรายนามแม่ทัพภาค
ลำดับ รูป พระนามและนาม วาระการดำรงตำแหน่ง หมายเหตุ
1   พลตรี พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นกำแพงเพชรอัครโยธิน พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2456[6]
2   พลตรี พระยาเสนาภิมุข (จง ลักษณะสุต) พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2460[7][8]
3   พลตรี หม่อมเจ้าพันธุประวัติ เกษมสันต์ พ.ศ. 2460 - พ.ศ. 2463
4   พลโท พระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์สิทธิ์ สุทัศน์) พ.ศ. 2463 - พ.ศ. 2469
5   พลตรี พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์ พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2471
6   พลโท พระยากฤษณรักษ์ (สวาสดิ์ บุนนาค) พ.ศ. 2471 - พ.ศ. 2474
7   พลตรี พระยาอินทรชิต (รัตน อาวุธ) พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2475
8   พลตรี พระยาพิไชยสงคราม (แก๊บ สรโยธิน) พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2490 ไม่มีการแต่งตั้งแม่ทัพภาคเนื่องจากกองทัพภาคที่ 1 ถูกยุบเลิก[9]
9   พลโท กาจ กาจสงคราม พ.ศ. 2491 - พ.ศ. 2492
10   พลตรี สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.ศ. 2492 - พ.ศ. 2497
11   พลโท ถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2497 - พ.ศ. 2500
12   พลโท ประภาส จารุเสถียร พ.ศ. 2500 - พ.ศ. 2503
13   พลโท วิชัย พงศ์อนันต์ พ.ศ. 2503 - พ.ศ. 2503
14   พลโท ชลอ จารุกลัส พ.ศ. 2503 - พ.ศ. 2506
15   พลโท กฤษณ์ สีวะรา พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2509
16   พลโท อรรถ ศศิประภา พ.ศ. 2509 - พ.ศ. 2510
17   พลโท สำราญ แพทยกุล พ.ศ. 2510 - พ.ศ. 2512
18   พลโท อ่อง โพธิกนิษฐ พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2512
19   พลโท เกรียงไกร อัตตะนันทน์ พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2515
20   พลโท ประเสริฐ ธรรมศิริ พ.ศ. 2515 - พ.ศ. 2518
21   พลโท ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา พ.ศ. 2518 - พ.ศ. 2519
22   พลโท อำนาจ ดำริกาญจน์ พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2521
23   พลโท เทพ กรานเลิศ พ.ศ. 2521 - พ.ศ. 2522
24   พลโท ปิ่น ธรรมศรี พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2523
25   พลโท วศิน อิศรางกูร ณ อยุธยา พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2524
26   พลโท อาทิตย์ กำลังเอก พ.ศ. 2524 - พ.ศ. 2525
27   พลโท พัฒน์ อุไรเลิศ พ.ศ. 2525 - พ.ศ. 2527
28   พลโท พิจิตร กุลละวณิชย์ พ.ศ. 2527 - พ.ศ. 2529
29   พลโท วัฒนชัย วุฒิศิริ พ.ศ. 2529 - พ.ศ. 2532
30   พลโท ศัลย์ ศรีเพ็ญ พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534
31   พลโท ไพบูลย์ ห้องสินหลาก พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2535
32   พลโท ชัยณรงค์ หนุนภักดี พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2535
33   พลโท เชษฐา ฐานะจาโร พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2537
34   พลโท บัณฑิตย์ มลายอริศูนย์ พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2538
35   พลโท วินิจ กระจ่างสนธิ์ พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2540
36   พลโท นิพนธ์ ภารัญนิตย์ พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2541
37   พลโท ทวีป สุวรรณสิงห์ พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2543
38   พลโท สมทัต อัตตะนันทน์ พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2544
39   พลโท พรชัย เดชาติวงศ์ ณ อยุธยา พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2545
40   พลโท ประวิตร วงษ์สุวรรณ พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2546
41   พลโท ไพศาล กตัญญู พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2548
42   พลโท อนุพงษ์ เผ่าจินดา พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549
43   พลโท ประยุทธ์ จันทร์โอชา*** 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 30 กันยายน พ.ศ. 2551
44   พลโท คณิต สาพิทักษ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 - 30 กันยายน พ.ศ. 2553
45   พลโท อุดมเดช สีตบุตร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 - 30 กันยายน พ.ศ. 2555
46   พลโท ไพบูลย์ คุ้มฉายา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 30 กันยายน พ.ศ. 2556
47   พลโท ธีรชัย นาควานิช 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557
48   พลโท กัมปนาท รุดดิษฐ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 - 30 กันยายน พ.ศ. 2558
49   พลโท เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2559
50   พลโท อภิรัชต์ คงสมพงษ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560
51   พลโท กู้เกียรติ ศรีนาคา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 - 30 กันยายน พ.ศ. 2561
52   พลโท ณรงค์พันธ์ จิตต์แก้วแท้ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - 30 กันยายน พ.ศ. 2562
53   พลโท ธรรมนูญ วิถี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 - 30 กันยายน พ.ศ. 2563
54   พลโท เจริญชัย หินเธาว์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 - 30 กันยายน พ.ศ. 2564[10]
55   พลโท สุขสรรค์ หนองบัวล่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 - 30 กันยายน พ.ศ. 2565[11]
56   พลโท พนา แคล้วปลอดทุกข์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 - 30 กันยายน พ.ศ. 2566[12]
57   พลโท ชิษณุพงศ์ รอดศิริ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 - 30 กันยายน พ.ศ. 2567
58   พลโท อมฤต บุญสุยา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2567

หมายเหตุ ยศทหารเป็นยศขณะดำรงตำแหน่งตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี

ค่ายทหารที่ตั้งปกติในพื้นที่

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 141 ตอนพิเศษ 262 ง 21 กันยายน พ.ศ. 2567
  2. "hitory of 1st Army Area". 1st Army Area (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2024-03-28.
  3. "honor of 1st Army Area". 1st Army Area (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-12. สืบค้นเมื่อ 2024-03-28.
  4. ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/100/T_0027.PDF ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระราชานุญาตเปลี่ยนแปลงหน่วยทหารรักษาพระองค์และหน่วยทหารในพระองค์] หน้า ๒๗-๓๖ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑oo ง, ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
  5. ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/303/T_0004.PDF ประกาศ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระบรมราชานุญาตเปลี่ยนนามหน่วยทหารรักษาพระองค์] หน้า ๔-๗ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๓o๓ ง, ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
  6. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/2459.PDF
  7. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2456/D/1998.PDF
  8. """ประกาศพระราชทานนามสกุล ครั้งที่ 9 "" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. สืบค้นเมื่อ 4 June 2021.
  9. "hitory of 1st Army Area". 1st Army Area (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2024-03-28.
  10. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ หน้า ๓๑ เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๑๘ ง ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓
  11. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ หน้า ๑๙ เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๒๑๘ ง ๑๔ กันยายน ๒๕๖๔
  12. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ หน้า ๑๙ เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๒๑๓ ง ๑๐ กันยายน ๒๕๖๕