สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2539

สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) เป็นสภาที่มีหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เกิดขึ้นในสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2539 [1][2]

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2550
ภาพรวม
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมอาคารรัฐสภาไทย
วาระ7 มกราคม พ.ศ. 2540 – 15 สิงหาคม พ.ศ. 2540
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2539
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีชวลิต
สภาร่างรัฐธรรมนูญ
สมาชิก99
ประธานสภาอุทัย พิมพ์ใจชน
รองประธานสภาคนที่ 1กระมล ทองธรรมชาติ
รองประธานสภาคนที่ 2ยุพา อุดมศักดิ์
นายกรัฐมนตรีพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
สมัยประชุม
ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2540 – 10 ตุลาคม พ.ศ. 2540

ที่มา แก้

สภาร่างรัฐธรรมนูญชุดนี้ ที่ประชุมรัฐสภาสรุปให้ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 99 คน โดยมีที่มาจากตัวแทนที่มาจากการเลือกตั้งประชาชนทางอ้อมทั้งหมด 76 จังหวัด และตัวแทนนักวิชาการ เสนอรายชื่อโดยสถาบันการศึกษา จำนวน 23 คน

ส่วนสมาชิกที่เป็นของตัวแทนประชาชนมีที่มา 3 ขั้นตอนดังนี้

  1. จากการเลือกตั้งของประชาชนในจังหวัดนั้น ๆ
  2. ให้ผู้สมัครคัดเลือกกันเองให้เหลือจังหวัดละ 10 คน รวมเป็น 760 คน
  3. จากนั้นจึงส่งรายชื่อทั้ง 760 คน ให้สมาชิกรัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา คัดเลือกขั้นสุดท้ายให้เหลือจังหวัดละ 1 คน รวม 76 คน

โดยสมาชิกที่กล่าวถึงทั้งที่มาจากการเลือกตั้งและตัวแทนนักวิชาการก็คือสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร.


รายนามสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ แก้

รายนามสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 จำนวน 99 คน [3]

สสร.จากการเลือกตั้งทางอ้อม แก้

จังหวัด รายชื่อ สสร.
กระบี่ พินิจ อัศวโกวิทกรณ์
กรุงเทพมหานคร เสรี สุวรรณภานนท์
กาญจนบุรี ประวิทย์ เจนวีระนนท์
กาฬสินธุ์ นายแพทย์ ธีรวัฒน์ ร่มไทรทอง
กำแพงเพชร อนันต์ ผลอำนวย
ขอนแก่น แคล้ว นรปติ
จันทบุรี เอก วรรณทอง
ฉะเชิงเทรา วุฒิพงศ์ ฉายแสง
ชลบุรี คณิน บุญสุวรรณ
ชัยนาท องอาจ หลำอุบล
ชัยภูมิ บัวพรม ธีรกัลยาณพันธุ์
ชุมพร สุทธินันท์ จันทระ
เชียงราย สามารถ แก้วมีชัย
เชียงใหม่ พลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์
ตรัง สุบิน สินไชย
ตราด พลตำรวจเอก ชาญ รัตนธรรม
ตาก พนัส ทัศนียานนท์
นครนายก สนั่น อินทรประเสริฐ
นครปฐม ประชุม ทองมี
นครพนม พูนสวัสดิ์ พุทธศิริ
นครราชสีมา พลเอก ปัญญา สิงห์ศักดา
นครศรีธรรมราช ธงชาติ รัตนวิชา
นครสวรรค์ ประเทือง คำประกอบ
นนทบุรี บุญเลิศ คชายุทธเดช
นราธิวาส นัจมุดดีน อูมา
น่าน เพชร แก่นเมือง
บุรีรัมย์ ถาวร จันทร์สม
ปทุมธานี ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี
ประจวบคีรีขันธ์ ร้อยตรี อำนวย ไทยานนท์
ปราจีนบุรี จำนงค์ พิณสาย
ปัตตานี เหม สุไลมาน
พระนครศรีอยุธยา นิเวศ พันธุ์เจริญวรกุล
พะเยา พวงเล็ก บุญเชียง
พังงา วรพจน์ ณ นคร
พัทลุง ประวิทย์ ทองศรีนุ่น
พิจิตร ยุพา อุดมศักดิ์
พิษณุโลก ปราณี วชิราศรีศิริกุล
เพชรบุรี เปลี่ยน เกตุทอง
เพชรบูรณ์ วิศัลย์ โฆษิตานนท์
แพร่ พนัส จันทรสุรินทร์
ภูเก็ต อุทัยวรรณ ดำรงกิจการวงศ์
มหาสารคาม โกศล ศรีสังข์
มุกดาหาร พันตรี ปรีดา นิสสัยเจริญ
แม่ฮ่องสอน เกษม พันธุรัตน์
ยโสธร อภินันท์ เมตตาริกานนท์
ยะลา อุดร กามา
ร้อยเอ็ด พันเอก (พิเศษ) อุดม ทวีวัฒน์
ระนอง ธรรมนูญ มงคล
ระยอง จัตวา กลิ่นสุนทร
ราชบุรี ทวิช กลิ่นประทุม
ลพบุรี ชงค์ วงษ์ขันธ์
ลำปาง ชานนท์ สุวสิน
ลำพูน สงวน พงษ์มณี
เลย ร้อยตรี สมนึก ชูวิเชียร
ศรีสะเกษ ประสพพร พาทยกุล
สกลนคร วรพจน์ วงศ์สง่า
สงขลา พินทิพย์ ลีลาภรณ์
สตูล จรัส ง๊ะสมัน
สมุทรปราการ สมรรค ศิริจันทร์
สมุทรสงคราม อำนวย นาครัชตะอมร
สมุทรสาคร พงศ์เทพ เทพกาญจนา
สระแก้ว สุนทร ทิพย์มณี
สระบุรี อนันต์ บูรณวนิช
สิงห์บุรี กมล สุขคะสมบัติ
สุโขทัย ประดัง ปรีชญางกูร
สุพรรณบุรี สมเกียรติ อ่อนวิมล
สุราษฎร์ธานี เดโช สวนานนท์
สุรินทร์ เหลื่อม พันธ์ฤกษ์
หนองคาย นิตินัย นาครทรรพ
หนองบัวลำภู สุนี ไชยรส
อ่างทอง สำรวย ฉิมทวี
อำนาจเจริญ ธีรศักดิ์ กีฬา
อุดรธานี พันเอก สมคิด ศรีสังคม
อุตรดิตถ์ นาวาโท สุรินทร์ แสงสนิท
อุทัยธานี ครรชิต สุขุมินท
อุบลราชธานี ไพบูลย์ ชมาฤกษ์

สสร.ประเภทผู้เชี่ยวชาญ แก้

ผู้เชี่ยวชาญ รายชื่อ สสร. หมายเหตุ
สาขากฎหมายมหาชน   เกษม ศิริสัมพันธ์
  แก้วสรร อติโพธิ์
  โกเมศ ขวัญเมือง
  คณิต ณ นคร
  ทองใบ ทองเปาด์ ลาออก 26 มีนาคม พ.ศ. 2540
  ธงทอง จันทรางศุ
  บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
  สมคิด เลิศไพฑูรย์
  มนตรี รูปสุวรรณ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2540[4]
ผู้มีประสบการณ์ด้านการเมือง
การบริหารราชการแผ่นดิน
หรือการร่างรัฐธรรมนูญ
  เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม
  ธรรมนูญ ลัดพลี
  พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร
  สวัสดิ์ คำประกอบ
  อานันท์ ปันยารชุน
  อุกฤษ มงคลนาวิน ลาออก 6 มกราคม พ.ศ. 2540
(ก่อนเปิดประชุมสภาเพียง 1 วัน)
  อุทัย พิมพ์ใจชน
  นาวาตรี ประสงค์ สุ่นศิริ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540[5]
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์   กระมล ทองธรรมชาติ
  เขียน ธีระวิทย์
  เฉลิม พรหมเลิศ
  ลิขิต ธีรเวคิน
  วิสุทธิ์ โพธิแท่น
  สุจิต บุญบงการ
  อมร รักษาสัตย์
  เอนก สิทธิประศาสน์

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แก้

ลำดับ รายชื่อ สสร. ตำแหน่ง[6]
1 อานันท์ ปันยารชุน ประธานคณะกรรมาธิการ
2 เกษม ศิริสัมพันธ์ รองประธานคณะกรรมาธิการคนที่หนึ่ง
3 คณิต ณ นคร รองประธานคณะกรรมาธิการคนที่สอง
4 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขานุการคณะกรรมาธิการ
5 พงศ์เทพ เทพกาญจนา ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการคนที่หนึ่ง
6 สมคิด เลิศไพฑูรย์ ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการคนที่สอง
7 คณิน บุญสุวรรณ โฆษกคณะกรรมาธิการ
8 โกเมศ ขวัญเมือง ผู้ช่วยโฆษกคณะกรรมาธิการ
9 เขียน ธีรวิทย์ คณะกรรมาธิการ
10 ทองใบ ทองเปาด์
11 พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร
12 วิสุทธิ์ โพธิแท่น
13 พันเอก สมคิด ศรีสังคม
14 สวัสดิ์ คำประกอบ
15 สุจิต บุญบงการ
16 เสรี สุวรรณภานนท์
17 เอนก สิทธิประศาสน์
18 กระมล ทองธรรมชาติ ประธานคณะกรรมาธิการวิชาการข้อมูล
และศึกษาแนวทางการร่างกฎหมาย
ประกอบรัฐธรรมนูญ
19 เดโช สวนานนท์ ประธานคณะกรรมาธิการจดหมายเหตุ
ตรวจรายงานการประชุมและกิจการสภา
20 สมเกียรติ อ่อนวิมล ประธานคณะกรรมาธิการประชาสัมพันธ์
21 อมร รักษาสัตย์ ประธานคณะกรรมาธิการรับฟัง
ความคิดเห็นและประชาพิจารณ์

ผู้ดำรงตำแหน่ง แก้

โดยก่อนที่จะมีการลงมตินั้น เหลื่อม พันธ์ฤกษ์ ทำหน้าที่ประธานสภาชั่วคราว ในฐานะที่เป็นสมาชิกที่อาวุโสสูงสุด

การลงมติเลือกผู้ดำรงตำแหน่ง แก้

ลงมติเลือกประธานสภาฯ แก้

มีการเสนอชื่อผู้ที่จะดำรงตำแหน่งประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญดังต่อไปนี้


ตำแหน่ง ชื่อ คะแนนเสียง
ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ[7] อุทัย พิมพ์ใจชน 44
อานันท์ ปันยารชุน 27
พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร 18
กระมล ทองธรรมชาติ 4
สวัสดิ์ คำประกอบ 2
งดออกเสียง
2
บัตรเสีย
1
รวม
98

เนื่องจากคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่ง จำเป็นต้องมีการลงมติอีกครั้ง

ตำแหน่ง ชื่อ คะแนนเสียง
ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ อุทัย พิมพ์ใจชน 65
อานันท์ ปันยารชุน 30
งดออกเสียง
2
บัตรเสีย
1
รวม
98

ลงมติเลือกรองประธานสภาฯ คนที่ 1 แก้

มีการเสนอชื่อผู้ที่จะดำรงตำแหน่งรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญคนที่หนึ่ง ดังต่อไปนี้

ตำแหน่ง ชื่อ คะแนนเสียง
รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญคนที่ 1 ยุพา อุดมศักดิ์ 36
กระมล ทองธรรมชาติ 35
เดโช สวนานนท์ 14
ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี 11
รวม
96

เนื่องจากคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่ง จำเป็นต้องมีการลงมติอีกครั้ง

ตำแหน่ง ชื่อ คะแนนเสียง
รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญคนที่ 1 กระมล ทองธรรมชาติ 52
ยุพา อุดมศักดิ์ 44
งดออกเสียง
1
บัตรเสีย
1
รวม
98

ลงมติเลือกรองประธานสภาฯ คนที่ 2 แก้

มีการเสนอชื่อผู้ที่จะดำรงตำแหน่งรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญคนที่สอง ดังต่อไปนี้

ตำแหน่ง ชื่อ คะแนนเสียง
รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญคนที่ 2 ยุพา อุดมศักดิ์ 62
อนันต์ บูรณวนิช 23
เสรี สุวรรณภานนท์ 5
ทวิช กลิ่นประทุม 3
ธรรมนูญ ลัดพลี 2
งดออกเสียง
2
รวม
97


อ้างอิง แก้

  1. https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/D/002/13.PDF
  2. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=17_%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%A8%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2539[ลิงก์เสีย]
  3. "สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย" (PDF). library.parliament.go.th.
  4. รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๙ วันอังคารที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐
  5. รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๕ วันอังคารที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๐
  6. Admin, iLaw (2015-09-15). "ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี". iLaw.
  7. รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ ๑ วันอังคารที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๐

ดูเพิ่ม แก้